Welcome to Q4wahabi.com (Question for Wahabi). Please login or sign up.

เมษายน 27, 2024, 05:55:31 หลังเที่ยง

Login with username, password and session length
สมาชิก
Stats
  • กระทู้ทั้งหมด: 2,625
  • หัวข้อทั้งหมด: 650
  • Online today: 103
  • Online ever: 153
  • (เมษายน 26, 2024, 05:40:09 ก่อนเที่ยง)
ผู้ใช้ออนไลน์
Users: 0
Guests: 56
Total: 56

วิจัย ความหมายของ “ เมาลา “ และ “ วะลี “

เริ่มโดย L-umar, พฤศจิกายน 02, 2009, 09:01:50 ก่อนเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

0 สมาชิก และ 1 ผู้มาเยือน กำลังดูหัวข้อนี้

L-umar



หลักฐานที่ยืนยันว่า  ท่านอบูบักรเดินทางไปไม่ถึงนครมักกะฮ์  แต่คนที่นำซูเราะฮ์เตาบะฮ์ไปประกาศคือท่านอะลี  


อัน นะซาอี รายงาน


أَخْبَرَناَ الْعَبَّاسُ بْنُ مُحَمَّدٍ الدُّورِىُّ قَالَ حَدَّثَنَا أَبُو نُوحٍ وَاسْمُهُ عَبْدُ الرَّحْمَنِ بْنُ غَزْوَانَ قُرَادٌ عَنْ يُونُسَ بْنِ أَبِي إِسْحَاقَ عَنْ أَبِي إِسْحَاقَ عَنْ زَيْدِ بْنِ يُثَيْعٍ عَنْ عَلِيٍّ أَنَّ رَسُولَ اللَّهِ بَعَثَ بِبَرَاءَةٌ إِلَى أَهْلِ مَكَّةَ مَعَ أَبِي بَكْرٍ ثُمَّ أَتْبَعَهُ بِعَلِيٍّ فَقاَلَ لُهُ خُذِ الْكِتاَبَ فَأمْضِ بِهِ إِلَى أَهْلِ مَكَّةَ قاَلَ فَلَحِقْتُهُ فَأَخَذْتُ الْكُتُبَ مِنْهُ فَأنْصَرَفَ أَبُو بَكْرٍ وَهُوَ كَئِيْبٌ فَقاَلَ ياَ رَسُوْلَ اللهِ أُنْزِلَ فِيَّ شَيْءٌ قاَلَ لاَ إِلاَّ إِنِّيْ أُمِرْتُ أَن أُبَلِّغَهُ أَناَ أَوْ رَجُلٌ مِنْ أَهْلِ بَيْتِيْ


อัลอับบาส บินมุฮัมมัด อัด-ดูรี เล่าให้เราฟัง เขากล่าวว่า อบูนู๊หฺ ชื่อของเขาคือ อับดุลเราะห์มาน บินฆ็อซวาน กุรอด เล่าให้เราฟัง จากยูนุส บินอบีอิสฮ๊าก จากอบีอิสฮ๊าก จากเซด บินยุษัยอ์ จากท่านอะลีเล่าว่า :


แท้จริงท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้ส่งซูเราะฮ์บะรออะฮ์ไปยังชาวเมืองมักกะฮ์กับท่านอบูบักร  
ต่อมาท่านได้ให้ท่านอะลีออกตามไปหาท่านอบูบักร โดยท่านได้กล่าวกับท่านอะลีว่า : ท่านจงนำสาส์นนั้น(จากอบูบักรคืนมา) แล้วจงเดินทางไปพร้อมกับสาส์นนั้น(เพื่อประกาศแก่)ชาวเมืองมักกะฮ์

ท่านเซดบินยุษัยอ์เล่าว่า :
ท่านอะลีได้ตามไปพบท่านอบูบักรแล้วขอเอาสาส์นจากเขาคืน  แล้วท่านอบูบักรได้กลับมา(ยังนครมะดีนะฮ์)ในสภาพเสียใจ   เขากล่าวว่า โอ้ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) : มีสิ่งใดประทานลงมาเกี่ยวกับตัวฉันกระนั้นหรือ ? ท่านนบี(ศ)ตอบว่า : ไม่มีสิ่งใดหรอก นอกจากว่า ฉันได้รับบัญชาว่า จะต้องประกาศ(สาส์นนั้น)ด้วยตัวเอง หรือไม่ก็ให้ชายที่มาจากอะฮ์ลุลบัยต์ของฉัน(ประกาศ)

สถานะหะดีษ  : เศาะหิ๊หฺ  

ดูหนังสือค่อซออิซอิม่ามอะลี โดยนะซาอี หะดีษที่ 71 ฉบับตรวจทานโดยเชคอบูอิสฮ๊าก อัลฮุวัยนี



ท่านสามารถโลดหนังสือตะห์กี๊กหะดีษค่อซออิซ อิม่ามอะลี โดยนะซาอี ได้ที่เวบ
http://mareb.org/showthread-t_4016.html


หะดีษบทนี้ทำให้เราเข้าใจชัดเจนว่า  หลังจากท่านอบูบักรมอบซูเราะฮ์เตาบะฮ์ให้ท่านอะลีแล้ว   ท่านอบูบักรด้วยความน้อยใจจึงเดินทางกลับเข้ามาที่นครมะดีนะฮ์ เขาได้เข้ามาสอบถามกับท่านรอซูล(ศ)ว่า  

มีเหตุอันใดหรือ ทำไมจึงต้องยกเลิกภารกิจที่มอบให้เขาทำ    ?

ท่านรอซูล(ศ)ตอบท่านอบูบักรว่า :
ไม่มีสิ่งใดหรอกลงมาตำหนิท่านดอก แต่ว่า ฉันได้รับบัญชาว่า จะต้องประกาศ(สาส์นนั้น)ด้วยตัวเอง หรือไม่ก็ให้ชายที่มาจากอะฮ์ลุลบัยต์ของฉันประกาศ

เราไม่ต้องการตำหนิซอฮาบะฮ์คนหนึ่งและยกย่องอีกคนหนึ่ง

แต่เรากำลังพิสูจน์ว่า  คนที่นำซูเราะฮ์เตาบะฮ์ไปประกาศที่มักกะฮ์คือ ท่านอะลี  ไม่ใช่ท่านอบูบักรตามที่หะดีษกำกับไว้

มีต่อ
  •  

L-umar


ท่านอบูบักรยืนยันว่า  ได้ส่งซูเราะฮ์เตาบะฮ์คืนให้กับท่านอะลี  


อิหม่ามอะหมัด รายงาน


حَدَّثَنَا وَكِيعٌ قَالَ قَالَ إِسْرَائِيلُ قَالَ أَبُو إِسْحَاقَ عَنْ زَيْدِ بْنِ يُثَيْعٍ  عَنْ أَبِي بَكْرٍ  :
أَنَّ النَّبِيَّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ بَعَثَهُ بِبَرَاءَةٌ لِأَهْلِ مَكَّةَ لَا يَحُجُّ بَعْدَ الْعَامِ مُشْرِكٌ وَلَا يَطُوفُ بِالْبَيْتِ عُرْيَانٌ وَلَا يَدْخُلُ الْجَنَّةَ إِلَّا نَفْسٌ مُسْلِمَةٌ مَنْ كَانَ بَيْنَهُ وَبَيْنَ رَسُولِ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ مُدَّةٌ فَأَجَلُهُ إِلَى مُدَّتِهِ وَاللَّهُ بَرِيءٌ مِنْ الْمُشْرِكِينَ وَرَسُولُهُ قَالَ فَسَارَ بِهَا ثَلَاثًا ثُمَّ قَالَ لِعَلِيٍّ رَضِيَ اللَّهُ تَعَالَى عَنْهُ الْحَقْهُ فَرُدَّ عَلَيَّ أَبَا بَكْرٍ وَبَلِّغْهَا أَنْتَ قَالَ فَفَعَلَ قَالَ فَلَمَّا قَدِمَ عَلَى النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ أَبُو بَكْرٍ بَكَى قَالَ يَا رَسُولَ اللَّهِ حَدَثَ فِيَّ شَيْءٌ قَالَ مَا حَدَثَ فِيكَ إِلَّا خَيْرٌ وَلَكِنْ أُمِرْتُ أَنْ لَا يُبَلِّغَهُ إِلَّا أَنَا أَوْ رَجُلٌ مِنِّي


วะกี๊อฺ เล่าให้เราฟัง เขากล่าวว่า  อิสรออีลเล่าว่า  อบูอิสฮ๊ากเล่าว่า  เซด บินยุษัยอ์เล่าว่า ท่านอบูบักร เล่าว่า :

แท้จริงท่านศาสดามุฮัมมัด(ศ) ได้ส่งเขาออกไปพร้อมกับซูเราะฮ์บะรออะฮ์ เพื่อไปประกาศแก่ชาวเมืองมักกะฮ์ว่า    : หลังจากปีนี้เป็นต้นไป  ห้ามมุชริก(ผู้สักการะเจว็ด)เข้ามาประกอบพิธีหัจญ์อีก และห้ามคนเปลือยกายเข้ามาต่อวาฟที่บัยตุลลอฮ์อีก และจะไม่ได้เข้าสวรรค์ ยกเว้นชีวิต(ของ)ผู้เข้ารับอิสลาม
เป็น(พันธะสัญญา)ระหว่างบุคคล(มุชริก)กับท่านรอซูล(ศ)ในช่วงเวลาหนึ่ง ดังนั้นระยะเวลาของเขาจะดำเนินไปจนถึงวาระของเขา(คือหมดเวลา) และ(นี่คือประกาศ)การพ้นข้อผูกพันธ์ใดๆ จากอัลลอฮ์และรอซูลของพระองค์แด่บรรดาผู้สักการะเจว็ด (มุชริกีน)

แล้วท่านอบูบักรได้ออกเดินทางไปพร้อมกับสาส์นนั้น(มุ่งหน้าสู่นครมักกะฮ์)

ต่อมาท่านนบี(ศ)ได้กล่าวกับท่านอะลีว่า  จงตามไปพบอบูบักรแล้วเอาสาส์นจากอบูบักรคืนมาให้ฉัน  และท่านจงไปประกาศสาส์นนั้นด้วยตัวท่านเอง  แล้วเขา(อะลี)ได้ปฏิบัติตามนั้น

เมื่อท่านอบูบักรได้กลับเข้ามาพบท่านนบี (ที่มะดีนะฮ์) เขาร้องไห้แล้วกล่าวว่า โอ้ท่านรอซูลุลลอฮ์  มีสิ่งใดเกิดขึ้นกับฉันหรือ ?
ท่านนบีกล่าวว่า : ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นกับท่านดอก นอกจากความดี แต่ว่า ฉันได้รับคำสั่งว่า ไม่ให้ใครประกาศสาส์นนั้น นอกจากตัวฉัน หรือชายที่มาจากตัวฉัน  

อ้างอิงจาก

มุสนัดอิหม่ามอะหมัด หะดีษที่ 4




อบู ยะอ์ลา ( เกิดฮ.ศ. 211 – 307 ) รายงาน

حَدَّثَنَا إِسْحَاقُ بْنُ إِسْمَاعِيلَ ، حَدَّثَنَا وَكِيعٌ ، حَدَّثَنَا إِسْرَائِيلُ ، عَنْ أَبِي إِسْحَاقَ ، عَنْ زَيْدِ بْنِ يُثَيْعٍ ، عَنْ أَبِي بَكْرٍ الصِّدِّيقِ ،
النَّبِيَّ صلى الله عليه وسلم بَعَثَهُ بِبَرَاءَةَ إِلَى أَهْلِ مَكَّةَ : لا يَحُجَّ بَعْدَ الْعَامِ مُشْرِكٌ ، وَلا يَطُوفَنَّ بِالْبَيْتِ عُرْيَانُ ، وَلا يَدْخُلُ الْجَنَّةَ إِلا نَفْسٌ مُسْلِمَةٌ ، وَمَنْ كَانَ بَيْنَهُ وَبَيْنَ رَسُولِ اللَّهِ صلى الله عليه وسلم مُدَّةٌ فَأَجَلُهُ إِلَى مُدَّتِهِ ، وَاللَّهُ بَرِيءٌ مِنَ الْمُشْرِكِينَ وَرَسُولُهُ ، قَالَ : فَسَارَ بِهَا ثَلاثًا ، ثُمَّ قَالَ لِعَلِيٍّ : الْحَقْهُ ، فَرُدَّ عَلَيَّ أَبَا بَكْرٍ وَبَلِّغْهَا ، قَالَ : فَفَعَلَ ، قَالَ : فَلَمَّا قَدِمَ عَلَى النَّبِيِّ صلى الله عليه وسلم أَبُو بَكْرٍ بَكَى ، وَقَالَ : يَا رَسُولَ اللَّهِ ، أَحَدَثَ فِيَّ شَيْءٌ ؟ قَالَ ، ثُمَّ قَالَ : مَا حَدَثَ فِيكَ إِلا خَيْرٌ ، إِلا أَنِّي أُمِرْتُ بِذَلِكَ : أَنْ لا يُبَلِّغَ إِلا أَنَا أَوْ رَجُلٌ مِنِّي

قال حسين سليم أسد : رجاله ثقات

الكتاب : مسند أبي يَعلى  ج 1 ص 100 ح 104
المؤلف : أحمد بن علي بن المثنى أبو يعلى الموصلي التميمي
الأحاديث مذيلة بأحكام حسين سليم أسد عليها


วะกี๊อฺ เล่าให้เราฟัง เขากล่าวว่า  อิสรออีลเล่าว่า  อบูอิสฮ๊ากเล่าว่า  เซด บินยุษัยอ์เล่าว่า ท่านอบูบักร เล่าว่า :

แท้จริงท่านศาสดามุฮัมมัด(ศ) ได้ส่งเขาออกไปพร้อมกับซูเราะฮ์บะรออะฮ์ เพื่อไปประกาศแก่ชาวเมืองมักกะฮ์ว่า    : หลังจากปีนี้เป็นต้นไป  ห้ามมุชริก(ผู้สักการะเจว็ด)เข้ามาประกอบพิธีหัจญ์อีก และห้ามคนเปลือยกายเข้ามาต่อวาฟที่บัยตุลลอฮ์อีก และจะไม่ได้เข้าสวรรค์ ยกเว้นชีวิต(ของ)ผู้เข้ารับอิสลาม
เป็น(พันธะสัญญา)ระหว่างบุคคล(มุชริก)กับท่านรอซูล(ศ)ในช่วงเวลาหนึ่ง ดังนั้นระยะเวลาของเขาจะดำเนินไปจนถึงวาระของเขา(คือหมดเวลา) และ(นี่คือประกาศ)การพ้นข้อผูกพันธ์ใดๆ จากอัลลอฮ์และรอซูลของพระองค์แด่บรรดาผู้สักการะเจว็ด (มุชริกีน)  แล้วท่านอบูบักรได้ออกเดินทางไปพร้อมกับสาส์นนั้น(มุ่งหน้าสู่นครมักกะฮ์) ต่อมาท่านนบี(ศ)ได้กล่าวกับท่านอะลีว่า  จงตามไปพบอบูบักรแล้วเอาสาส์นจากอบูบักรคืนมาให้ฉัน  และท่านจงไปประกาศสาส์นนั้นด้วยตัวท่านเอง  แล้วเขา(อะลี)ได้ปฏิบัติตามนั้น  เมื่อท่านอบูบักรได้กลับเข้ามาพบท่านนบี (ที่มะดีนะฮ์) เขาร้องไห้แล้วกล่าวว่า โอ้ท่านรอซูลุลลอฮ์  มีสิ่งใดเกิดขึ้นกับฉันหรือ ?
ท่านนบีกล่าวว่า : ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นกับท่านดอก นอกจากความดี แต่ว่า ฉันได้รับคำสั่งว่า ไม่ให้ใครประกาศสาส์นนั้น นอกจากตัวฉัน หรือชายที่มาจากตัวฉัน

เชคฮูเซน สะลีม อะสัด กล่าวว่า

قال حسين سليم أسد : رجاله ثقات

บรรดานักรายงานของหะดีษ (บทนี้ )  เชื่อถือได้ในการรายงาน


ดูมุสนัด อบียะอ์ลา   หะดีษที่  104   ฉบับตรวจทานโดย เชคฮูเซน สะลีม อะสัด



สอง -  อัลฮัยษะมี ( เกิดฮ.ศ. 735 – 807 )

حَدَّثَنَا عَبْدُ اللَّه، حَّدَثَنِى أَبِى، حَدَّثَنَا وَكِيعٌ، قَالَ: قَالَ إِسْرَائِيلُ: قَالَ أَبُو إِسْحَاقَ: عَنْ زَيْدِ بْنِ يُثَيْعٍ، عَنْ أَبِى بَكْرٍ

أَنَّ النَّبِىَّ صلى الله عليه وسلم بَعَثَهُ بِبَرَاءَةٌ لأَهْلِ مَكَّةَ: \\\"لاَ يَحُجُّ بَعْدَ الْعَامِ مُشْرِكٌ، وَلاَ يَطُوفُ بِالْبَيْتِ عُرْيَانٌ، وَلاَ يَدْخُلُ الْجَنَّةَ إِلاَّ نَفْسٌ مُسْلِمَةٌ مَنْ كَانَ بَيْنَهُ، وَبَيْنَ رَسُولِ اللَّهِ صلى الله عليه وسلم مُدَّةٌ فَأَجَلُهُ إِلَى مُدَّتِهِ، وَاللَّهُ بَرِىءٌ مِنَ الْمُشْرِكِينَ وَرَسُولُهُ. قَالَ: فَسَارَ بِهَا ثَلاثًا ثُمَّ قَالَ لِعَلِىٍّ عليه السلام: \\\"الْحَقْهُ، فَرُدَّ عَلَىَّ أَبَا بَكْرٍ وَبَلِّغْهَا أَنْتَ، قَالَ: فَفَعَلَ، قَالَ: فَلَمَّا قَدِمَ عَلَى النَّبِىِّ صلى الله عليه وسلم أَبُو بَكْرٍ بَكَى، قَالَ: يَا رَسُولَ اللَّهِ، حَدَثَ فِىَّ شَىْءٌ، قَالَ: \\\"مَا حَدَثَ فِيكَ إِلاَّ خَيْرٌ، وَلَكِنْ أُمِرْتُ أَنْ لا يُبَلِّغَهُ إِلاَّ أَنَا أَوْ رَجُلٌ مِنِّى.
قُلْتُ :  فى الصحيح بعضه.
الكتاب : غاية المقصد فى زوائد المسند  ج 1 ص 2145
المؤلف : للحافظ علي بن أبي بكر بن سليمان الهيثمي


วะกี๊อฺ เล่าให้เราฟัง เขากล่าวว่า  อิสรออีลเล่าว่า  อบูอิสฮ๊ากเล่าว่า  เซด บินยุษัยอ์เล่าว่า ท่านอบูบักร เล่าว่า :

แท้จริงท่านศาสดามุฮัมมัด(ศ) ได้ส่งเขาออกไปพร้อมกับซูเราะฮ์บะรออะฮ์ เพื่อไปประกาศแก่ชาวเมืองมักกะฮ์ว่า : หลังจากปีนี้เป็นต้นไป  ห้ามมุชริก(ผู้สักการะเจว็ด)เข้ามาประกอบพิธีหัจญ์อีก และห้ามคนเปลือยกายเข้ามาต่อวาฟที่บัยตุลลอฮ์อีก และจะไม่ได้เข้าสวรรค์ ยกเว้นชีวิต(ของ)ผู้เข้ารับอิสลาม เป็น(พันธะสัญญา)ระหว่างบุคคล(มุชริก)กับท่านรอซูล(ศ)ในช่วงเวลาหนึ่ง ดังนั้นระยะเวลาของเขาจะดำเนินไปจนถึงวาระของเขา(คือหมดเวลา) และ(นี่คือประกาศ)การพ้นข้อผูกพันธ์ใดๆ จากอัลลอฮ์และรอซูลของพระองค์แด่บรรดาผู้สักการะเจว็ด (มุชริกีน)  แล้วท่านอบูบักรได้ออกเดินทางไปพร้อมกับสาส์นนั้น(มุ่งหน้าสู่นครมักกะฮ์)
ต่อมาท่านนบี(ศ)ได้กล่าวกับท่านอะลีว่า  จงตามไปพบอบูบักรแล้วเอาสาส์นจากอบูบักรคืนมาให้ฉัน  และท่านจงไปประกาศสาส์นนั้นด้วยตัวท่านเอง  แล้วเขา(อะลี)ได้ปฏิบัติตามนั้น   เมื่อท่านอบูบักรได้กลับเข้ามาพบท่านนบี (ที่มะดีนะฮ์) เขาร้องไห้แล้วกล่าวว่า โอ้ท่านรอซูลุลลอฮ์  มีสิ่งใดเกิดขึ้นกับฉันหรือ ?
ท่านนบีกล่าวว่า : ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นกับท่านดอก นอกจากความดี แต่ว่า ฉันได้รับคำสั่งว่า ไม่ให้ใครประกาศสาส์นนั้น นอกจากตัวฉัน หรือชายที่มาจากตัวฉัน  


อ้างอิงจาก

ฆอยะตุลมักศอด ฟีซะวาอิดิลมุสนัด  เล่ม 1 : 2145

อัลฮัยษะมีกล่าวว่า  อยู่ในเศาะหิ๊หฺ  





เซด บินยุษัยอ์   ตาบิอี  การรายงานหะดีษ  เชื่อถือได้  จริงหรือ ???



เชคชุเอบอัลอัรนะอูฏี กล่าวว่า

قال الشيخ شعيب الأرنؤوط : إسناده ضعيف رجاله ثقات رجال الشيخين غير زيد بن يثيع

อิสนาด(สายรายงาน)ของหะดีษนี้  " ดออีฟ "   บรรดานักรายงานหะดีษนี้เชื่อถือได้(หมด) เป็นนักรายงานของเชคทั้งสอง(บุคอรี/มุสลิม)  ยกเว้น " เซด บินยุษัยอ์ "  ( หมายถึงเซดไม่ษิเกาะฮ์ ผู้แปล.)

อ้างอิงจาก

มุสนัดอิหม่ามอะหมัด หะดีษที่ 4 ฉบับตรวจทานโดยเชคชุเอบ



ภาพเชคชุเอบอัลอัรนะอูฏี
http://arabia-it.com/images/News/arnaaot2.jpg



แต่เชคมุฮัมมัด นาซิรุดดีน อัลบานี ท่านกลับวิจารณ์ว่า


قال الألباني في \\\"السلسلة الصحيحة  ج 2 ص 487 ح 824

زَيْدُ بْنُ يُثَيْعٍ وَ هُوَ ثِقَةٌ

เซด บินยุษัยอ์  เขาษิเกาะฮ์  (คือเชื่อถือได้ในการรายงานหะดีษ)


อ้างอิงจาก

ซิลซิละตุซ – ซ่อฮีฮะฮ์  เล่ม 2 : 487 หะดีษ 824


ภาพเชคมุฮัมมัด นาซิรุดดีน อัลบานี
http://talal33.jeeran.com/t_2_albani.jpg



คำวิจารณ์ที่ว่า เซด บินยุษัยอ์  เชื่อถือไม่ได้ของเชคชุเอบ อัลอัรนะอูฏ ยังไปค้านกับทัศนะของอุละมาอ์ผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์อิลมุลริญาลอีกหลายท่านดังนี้



หนึ่ง- อัลอิจญ์ลี กล่าวว่า

زيد بن يثيع كوفى ثقة تابعي
เซด บินยุษัยอ์   ชาวกูฟะฮ์  : ษิเกาะฮ์ (เชื่อถือได้) เป็นตาบิอี
ดูอัษ ษิกอต  โดยอัลอิจญ์ลี อันดับที่ 535

สอง – อิบนุหิบบาน นับว่า  เซด บินยุษัยอ์ เป็นหนึ่งจากนักรายงานที่เชื่อถือได้
زيد بن يثيع الهمداني كوفى يروى عن على  

ดูอัษ ษิกอต  โดยอิบนิหิบบาน อันดับที่ 2763


สาม – อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานี กล่าวว่า


زيد بن يثيع الهمداني الكوفي ثقة

เซด บินยุษัยอ์ อัลฮะมาดานี อัลกูฟี  เชื่อถือได้  

ดู ตักรีบุต ตะฮ์ซีบ   โดยอิบนิหะญัร อันดับที่ 2160


เมื่อทัศนะของเชคชุเอบเพียงคนเดียว วิจารณ์ค้านกับทัศนะของ

1.   เชคอัลบานี
2.   เชคฮูเซน สะลีมอะสัด
3.   อิบนิหิบบาน
4.   อัจอิจญ์ลีและ
5.   อิบนิหะญัร ที่กล่าวว่า  ท่านเซด บินยุษัยอ์  เชื่อถือได้

เราจึงขอถามว่า  พวกท่านยังจะตัดสินว่า  มุสนัดอิหม่ามอะหมัด หะดีษที่ 4   นั้น ดออีฟ อีกหรือ ?



หากท่านเชื่อคำวิจารณ์ของเชคชุเอบ อัลอัรนะอูฏ    ผมว่า ท่านก็คงเป็นอีกคนหนึ่งที่มีอคติต่อฟะดีลัตของท่านอะลี เหมือนเช่นคนรุ่นก่อนๆและเช่นเชคชุเอบนั่นเอง ทั้งๆที่มีอุละมาอ์ห้าคนรับรองว่า สะนัดนี้ถูกต้อง.


มีต่อ...
  •  

L-umar


อัลลอฮ์ ตะอาลาตรัสว่า


يُرِيدُونَ أَنْ يُطْفِئُوا نُورَ اللَّهِ بِأَفْوَاهِهِمْ وَيَأْبَى اللَّهُ إِلَّا أَنْ يُتِمَّ نُورَهُ وَلَوْ كَرِهَ الْكَافِرُونَ

พวกเขาต้องการเพื่อจะดับ " รัศมีของอัลลอฮ์ " ด้วยปากของพวกเขา และอัลลอฮ์นั้นไม่ทรงยินยอม นอกจากจะทรงให้รัศมีของพระองค์สมบูรณ์เท่านั้น และแม้ว่าบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาจะชิงชังก็ตาม

ซูเราะฮ์ อัต – เตาบะฮ์ : 32


ในขณะที่ท่านอิบนุอับบาส นับว่า การที่ท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)มอบหมายให้ท่านอะลีนำซูเราะฮ์เตาบะฮ์ไปประกาศที่นครมักกะฮ์แทนท่านอบูบักรนั้น  คือ ฟะดีลัตหนึ่งของท่านอะลี  



แต่อัลบุคอรีกลับใช้กลเม็ดลดรัศมีของท่านอะลี ด้วยการดับฟะดีลัตของท่านอิม่ามอะลี อย่างแยบยลดังนี้

 
أَنَّ أَبَا هُرَيْرَةَ قَالَ بَعَثَنِى أَبُو بَكْرٍ فِى تِلْكَ الْحَجَّةِ فِى مُؤَذِّنِينَ يَوْمَ النَّحْرِ نُؤَذِّنُ بِمِنًى أَنْ لاَ يَحُجَّ بَعْدَ الْعَامِ مُشْرِكٌ ، وَلاَ يَطُوفَ بِالْبَيْتِ عُرْيَانٌ . قَالَ حُمَيْدُ بْنُ عَبْدِ الرَّحْمَنِ ثُمَّ أَرْدَفَ رَسُولُ اللَّهِ - صلى الله عليه وسلم - عَلِيًّا ، فَأَمَرَهُ أَنْ يُؤَذِّنَ بِبَرَاءَةَ قَالَ أَبُو هُرَيْرَةَ فَأَذَّنَ مَعَنَا عَلِىٌّ فِى أَهْلِ مِنًى يَوْمَ النَّحْرِ لاَ يَحُجُّ بَعْدَ الْعَامِ مُشْرِكٌ ، وَلاَ يَطُوفُ بِالْبَيْتِ عُرْيَانٌ

อัลบุคอรีเล่าว่า :

แท้จริงท่านอบูฮูร็อยเราะฮ์เล่าว่า :  ท่านอบูบักรได้ส่งฉันไปในเทศกาลประกอบพิธีหัจญ์ในปีนั้นด้วย ในการเป็นผู้ทำหน้าที่ประกาศในวันเชือดกุรบ่าน  พวกเราประกาศ(สาส์น)ที่มินาว่า  นับหลังจากปีนี้เป็นต้นไป ห้ามมุชริก(ผู้ตั้งภาคี)มาทำหัจญ์อีก และห้ามคนเปลือยกายมาเดินต่อวาฟที่บัยตุลลอฮ์อีก

หุมัยด์บินอับดุลเราะห์มานเล่าว่า :
แล้วต่อมาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้ส่งท่านอะลีมาสมทบ ท่านสั่งให้อะลีประกาศ(แก่ฮุจญ๊าจญ์)ด้วยซูเราะฮ์บะรออะฮ์  

ท่านอบูฮุร็อยเราะฮ์เล่าว่า :
แล้วท่านอะลีได้ประกาศ(สาส์น)พร้อมกับพวกเรา แก่ชาวมินา ในวันเชือดว่า ห้ามมิให้มุชริก(ผู้ตั้งภาคี)มาทำหัจญ์อีก และห้ามคนเปลือยกายมาเดินต่อวาฟที่บัยตุลลอฮ์อีก

อ้างอิงจาก

เศาะหิ๊หฺบุคอรี  หะดีษที่  369



วิจารณ์ความไม่ชอบมาพากลของหะดีษนี้



1.   ข้ออ้างที่ว่า ท่านอบูบักรไปประกอบพิธีหัจญ์ในปีฮ.ศ.ที่ 9 นั้นโกหกชัดเจน  เพราะอิหม่ามอะหมัดและมุหัดดิษคนอื่นๆก่อนหน้านี้รายงานว่า  ท่านนบี(ศ)ได้ยกเลิกคำสั่งให้ท่านอบูบักรนำซูเราะฮ์เตาบะฮ์ไปประกาศและได้มอบหมายให้ท่านอะลีไปทำแทน  ส่วนท่านอบูบักรไม่ไปมักกะฮ์ แต่ได้ย้อนกลับมาพบท่านนบี(ศ)ที่มะดีนะฮ์   ฉะนั้นจะเป็นไปได้อย่างไร ที่ท่านอบูบักรจะไปเป็นอมีรุลหัจญ์ในครั้งนั้น

2.   บุคอรีเล่าว่า ท่านอบูบักรกับท่านอบูฮุร็อยเราะฮ์ได้ประกาศสาส์นนั้นไปแล้ว  ต่อมาท่านอะลีได้ตามมาสมทบช่วยประกาศสาส์นนั้นร่วมกับท่านทั้งสองอีกครั้งหนึ่ง     ราวกับบุคอรีลืมไปว่า ท่าน นบี(ศ)กล่าวชัดเจนว่า " ไม่มีใครจะทำหน้าที่ประกาศซูเราะฮ์นั้นแทนฉันได้ นอกจากตัวฉัน หรือชายที่มาจากอะฮ์ลุลบัยต์ของฉัน "  แล้วจะเป็นไปได้อย่างไรที่บุคคลทั้งสองกล้าชิงประกาศสาส์นของท่านนบี(ศ)ก่อนท่านอะลี เพราะทั้งสองไม่ได้รับมอบหมายให้ประกาศ

3.   การที่ท่านนบี(ศ)ปลดท่านอบูบักรออกจากหน้าที่ประกาศ และแต่งตั้งท่านอะลีให้ไปประกาศนั้น เป็นคำสั่งจากท่านญิบรออีล  ตามที่หะดีษเล่าไว้ ดังนั้นมันจึงเป็นพระประสงค์จากอัลลอฮ์โดยตรง

4.   ฝ่ายซุนนี่อาจแย้งว่า เป็นธรรมเนียมปกติของชาวอาหรับที่ต้องมอบหมายหน้าที่ให้ญาติสนิทไปประกาศพันธะหรือทำสัญญาแทน  ดังนั้นท่านนบี(ศ)จึงใช้ให้ท่านอะลีไปประกาศแทน  งั้นเราก็ขอถามว่า ทำไมท่านอบูบักรกับท่านอบูฮุร็อยเราะฮ์จึงชิงประกาศสาส์นนั้นก่อนท่านอะลี ?  ในเมื่อท่านทั้งสองไม่ใช่ญาติสนิทของท่านนบี(ศ)  ซึ่งเห็นได้ชัดว่า ข้ออ้างของซุนนี่นี้ขัดแย้งกันเองและสับสน

5.   บรรดาผู้ที่รายงานหะดีษในลักษณะที่ว่า  มีซอฮาบะฮ์เช่นท่านอบูบักร หรือท่านอบูฮุร็อยเราะฮ์นำซูเราะฮ์เตาบะฮ์ไปประกาศกับฮุจญ๊าจญ์ก่อนหน้าท่านอะลี   พวกเขามิได้มีจุดประสงค์อื่นใดเลย นอกจากต้องดับรัศมี ลดความประเสริฐของท่านอะลีที่ได้รับจากอัลลอฮ์และรอซูลเท่านั้นเอง

6.   และด้วยเหตุนี่ท่านอิบนุอับบาส จึงถือว่าเรื่องที่ท่านอะลีทำหน้าที่ประกาศซูเราะฮ์เตาบะฮ์ในฐานะตัวแทนท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)คือ  ฟะดีลัตประการหนึ่ง.  
  •  

L-umar



ฟะดีลัตที่ สาม


ท่านอิบนุอับบาสเล่าว่า :

ช่วงเริ่มประกาศศาสนาอิสลามใหม่ๆ  ท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)ได้เชิญตระกูลของท่านมารัปทานอาหารร่วมกัน หลังจากทานอาหารเสร็จ  
ท่านนบี(ศ)ได้ถามบรรดาลุงๆของท่านว่า   คนใดในหมู่พวกท่านจะมาช่วยเหลือฉันทั้งในดุนยาและอาคิเราะฮ์บ้าง ?

บรรดาลุงนบีมิได้ขานรับคำขอจากท่านนบี(ศ)เลยสักคน ยกเว้นท่านอะลีที่ลุกขึ้นกล่าวว่า   ฉันจะช่วยเหลือท่านทั้งดุนยาและอาคิเราะฮ์




ท่านอิบนุญะรีร อัฎฎ็อบรี(ฮ.ศ.224-310)

ได้ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้และได้บันทึกรายละเอียดเอาไว้ในตำราของเขาดังนี้


ตำราอธิบายอัลกุรอ่านชื่อ ตัฟสีรฏ็อบรี

ดูซูเราะฮ์ที่ 26 อัช-ชุอะรออ์  อายะฮ์ที่ 214


حدثنا ابن حميد، قال: ثنا جرير، عن عمرو: أنه كان يقرأ:( وَأَنْذِرْ عَشِيرَتَكَ الأقْرَبِينَ ) ورهطك المخلصين.
قال: ثنا سلمة، قال: ثني محمد بن إسحاق، عن عبد الغفار بن القاسم، عن المنهال بن عمرو، عن عبد الله بن الحارث بن نوفل بن الحارث بن عبد المطلب، عن عبد الله بن عباس، عن عليّ بن أبي طالب: لما نزلت هذه الآية على رسول الله صلى الله عليه وسلم( وَأَنْذِرْ عَشِيرَتَكَ الأقْرَبِينَ ) دعاني رسول الله صلى الله عليه وسلم، فقال لي: \\\"يا عليُّ، إنَّ الله أمَرَنِي أنْ أُنْذِرْ عَشِيرَتِي الأقْرَبِين\\\"، قال: \\\"فضقت بذلك ذرعا، وعرفت أنى متى ما أنادهم بهذا الأمر أَرَ منهم ما أكره، فصمتُّ حتى جاء جبرائيل، فقال: يا محمد، إنك إلا تفعل ما تؤمر به يعذّبك ربك. فاصنع لنا صاعا من طعام، واجعل عليه رجل شاة، واملأ لنا عسا من لبن، ثم اجمع لي بني عبد المطلب، حتى أكلمهم، وأبلغهم ما أمرت به\\\"، ففعلت ما أمرني به، ثم دعوتهم له، وهم يومئذ أربعون رجلا يزيدون رجلا أو ينقصونه، فيهم أعمامه: أبو طالب، وحمزة، والعباس، وأبو لهب; فلما اجتمعوا إليه دعاني بالطعام الذي صنعت لهم، فجئت به. فلما وضعته تناول رسول الله صلى الله عليه وسلم حِذْية من اللحم فشقها بأسنانه، ثم ألقاها في نواحي الصحفة، قال: \\\"خذوا باسم الله\\\"، فأكل القوم حتى ما لهم بشيء حاجة، وما أرى إلا مواضع أيديهم; وايم الله الذي نفس علي بيده إن كان الرجل الواحد ليأكل ما قدمت لجميعهم، ثم قال: \\\"اسْقِ النَّاسَ\\\"، فجِئْتُهُمْ بذلك العس، فشربوا حتى رووا منه جميعا، وايم الله إن كان الرجل الواحد منهم ليشرب مثله; فلما أراد رسول الله صلى الله عليه وسلم أن يكلمهم، بدره أبو لهب إلى الكلام، فقال: لَهَدَّ ما سحركم به صاحبكم، فتفرّق القوم ولم يكلمهم رسول الله صلى الله عليه وسلم، فقال: \\\"الغد يا عليّ، إن هَذَا الرَّجُل قدْ سَبَقَنِي إلى ما
قَدْ سَمِعْتَ مِنَ القَوْلِ، فَتفرّق القوم قبلَ أنْ أُكَلِّمَهُمْ فأعِدَّ لَنا مِنَ الطَّعَامِ مِثْلَ الَّذِي صَنَعْتَ، ثُمَّ اجْمَعْهُمْ لِي\\\"، قال: ففعلت ثم جمعتهم، ثم دعاني بالطعام، فقرّبته لهم، ففعل كما فعل بالأمس، فأكلوا حتى ما لهم بشيء حاجة، قال: \\\"اسقهم\\\"، فجئتهم بذلك العس فشربوا حتى رووا منه جميعًا، ثم تكلم رسول الله صلى الله عليه وسلم، فقال: \\\"يا بَنِي عَبْدِ المُطَّلِبِ، إنِّي والله ما أعْلَمُ شابا فِي العَرَبِ جَاءَ قَوْمَهُ بأفْضَلَ ممَّا جئْتُكُمْ بِهِ، إنّي قَدْ جِئْتُكُمْ بِخَيْرِ الدُّنْيَا والآخِرَةِ، وَقَدْ أمَرَنِي الله أنْ أدْعُوكُمْ إلَيْهِ، فَأيُّكُمْ يُؤَازِرُني عَلى هَذَا الأمْرِ، عَلى أنْ يَكُونَ أخِي\\\"وكَذَا وكَذَا؟ قال: فأحجم القوم عنها جميعا، وقلت وإني لأحدثهم سنا، وأرمصهم عينا، وأعظمهم بطنا، وأخمشهم ساقا. أنا يا نبيّ الله أكون وزيرك، فأخذ برقبتي، ثم قال: \\\"إن هذا أخي\\\"وكذا وكذا، \\\"فاسمعوا له وأطيعوا\\\"، قال: فقام القوم يضحكون، ويقولون لأبي طالب: قد أمرك أن تسمع لابنك وتطيع!.
تفسير الطبري  ج 19 / ص 409

ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)กล่าวว่า  โอ้บนีอับดุลมุฏลิบ  ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ แท้จริงฉันไม่เคยรู้มาก่อนว่า จะมีชายหนุ่มคนใดในอาหรับได้นำมายังหมู่ชนของเขา ด้วยสิ่งที่ประเสริฐสุดมากไปกว่าสิ่งที่ฉันได้มันมาให้พวกท่าน  ฉันได้นำมายังพวกท่านด้วยความดีงามทั้งดุนยาและอาคิเราะฮ์ และอัลลอฮ์ ตะอาลาได้บัญชาให้ฉันเชิญชวนพวกท่านไปยังพระองค์
ดังนั้น(ขอถามว่า) พวกท่านคนใดจะช่วยเหลือฉันบนภารกิจนี้  โดยเขาจะได้มาเป็น" พี่น้องของฉัน  วะซีของฉัน และคอลีฟะฮ์ของฉัน(ภายหลังจากฉัน)ในหมู่พวกท่าน "   หมู่ชนนั้นได้ทยอยออกไปจากท่านทั้งหมด
(ท่านอะลี)เล่าว่า ตอนนั้นฉันอายุน้อยที่สุด...(ได้กล่าวว่า )  ฉันเอง โอ้ท่านนบีแห่งอัลลอฮ์ ฉันจะเป็นผู้ช่วยเหลือท่านบนภารกิจนั้น   ท่านนบีได้จับที่ต้นคอของฉันแล้วกล่าวว่า

บุคคลนี้คือ  " พี่น้องของฉัน  วะซีของฉัน และคอลีฟะฮ์ของฉัน(ภายหลังจากฉัน)ในหมู่พวกท่าน "  

ดังนั้นขอให้พวกท่านจงเชื่อฟังและปฏิบัติตามเขาเถิด

หมู่ชนนั้นลุกขึ้นไป พวกเขาหัวเราะ และกล่าวกับอบูตอลิบว่า  เขา(มุฮัมมัด)สั่งให้ท่านเชื่อฟังและปฏิบัติลูกชายของท่านเอง



ตำราหะดีษ ชื่อ  ตะฮ์ซีบุลอาษ้ารโดยอิบนุญะรีร  เล่ม 4 : 59  หะดีษที่  1368

حدثنا ابن حميد ، قال : حدثنا سلمة بن الفضل ، قال : حدثني محمد بن إسحاق ، عن عبد الغفار بن القاسم ، عن المنهال بن عمرو ، عن عبد الله بن الحارث بن نوفل بن الحارث بن عبد المطلب ، عن عبد الله بن عباس ، عن علي بن أبي طالب ، قال : قال رسول الله صلى الله عليه وسلم : يا بني عبد المطلب ، إنّي قَدْ جِئْتُكُمْ بِخَيْرِ الدُّنْيَا والآخِرَةِ، وَقَدْ أمَرَنِي الله أنْ أدْعُوكُمْ إلَيْهِ ، فَأيُّكُمْ يُؤَازِرُني عَلى هَذَا الأمْرِ عَلَى أَن يَكُوْنَ أَخِيْ ، وَوَصِيِّيْ ، وَخَلِيْفَتِيْ فِيْكُمْ ؟ قاَلَ : « فَأَحْجَمَ الْقَوْمُ عَنْهاَ جَمِيْعاً » وَقُلْتُ : أَناَ ياَ نَبِيَّ اللهِ ، أَكُوْنُ وَزِيْرَكَ عَلَيْهِ ، فأخذ برقبتي ، وقال : « هَذَا أَخِيْ ، وَوَصِيِّيْ ، وَخَلِيْفَتِيْ فِيْكُمْ ، فَاسْمَعُوْا لَهُ وَأَطِيْعُوْا »
تهذيب الآثار للطبري  ج 4  ص 59 ح 1368

ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)กล่าวว่า  โอ้บนีอับดุลมุฏลิบ  ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ แท้จริงฉันไม่เคยรู้มาก่อนว่า จะมีชายหนุ่มคนใดในอาหรับได้นำมายังหมู่ชนของเขา ด้วยสิ่งที่ประเสริฐสุดมากไปกว่าสิ่งที่ฉันได้มันมาให้พวกท่าน  ฉันได้นำมายังพวกท่านด้วยความดีงามทั้งดุนยาและอาคิเราะฮ์ และอัลลอฮ์ ตะอาลาได้บัญชาให้ฉันเชิญชวนพวกท่านไปยังพระองค์
ดังนั้น(ขอถามว่า) พวกท่านคนใดจะช่วยเหลือฉันบนภารกิจนี้  โดยเขาจะได้มาเป็น" พี่น้องของฉัน  วะซีของฉัน และคอลีฟะฮ์ของฉัน(ภายหลังจากฉัน)ในหมู่พวกท่าน "   หมู่ชนนั้นได้ทยอยออกไปจากท่านทั้งหมด
(ท่านอะลี)เล่าว่า ตอนนั้นฉันอายุน้อยที่สุด...(ได้กล่าวว่า )  ฉันเอง โอ้ท่านนบีแห่งอัลลอฮ์ ฉันจะเป็นผู้ช่วยเหลือท่านบนภารกิจนั้น   ท่านนบีได้จับที่ต้นคอของฉันแล้วกล่าวว่า
บุคคลนี้คือ  " พี่น้องของฉัน  วะซีของฉัน และคอลีฟะฮ์ของฉัน(ภายหลังจากฉัน)ในหมู่พวกท่าน "  ดังนั้นขอให้พวกท่านจงเชื่อฟังและปฏิบัติตามเขาเถิด
หมู่ชนนั้นลุกขึ้นไป พวกเขาหัวเราะ และกล่าวกับอบูตอลิบว่า  เขา(มุฮัมมัด)สั่งให้ท่านเชื่อฟังและปฏิบัติลูกชายของท่านเอง


ตำราประวัติศาสตร์ชื่อ ตารีคฏ็อบรี โดยอิบนุญะรีร เล่ม 1  หน้า 542-543

فأكلوا حتى ما لهم بشيء حاجة ثم قال اسقهم فجئتهم بذلك العس فشربوا حتى رووا منه جميعا ثم تكلم رسول الله صلى الله عليه و سلم فقال يا بني عبد المطلب إني والله ما أعلم شابا في العرب جاء قومه بأفضل مما قد جئتكم به إني قد جئتكم بخير الدنيا والاخرة وقد أمرني الله تعالى أدعوكم إليه فَأيُّكُمْ يُؤَازِرُني عَلى هَذَا الأمْرِ على أن يكون أخي ووصيي وخليفتي فيكم قال فأحجم القوم عنها جميعا
وَقُلْتُ وإني لأحدثهم سنا وأرمصهم عينا وأعظمهم بطنا وأحمشهم ساقا أنا يا نبي الله أكون وزيرك عليه فأخذ برقبتي ثم قال « هَذَا أَخِيْ ، وَوَصِيِّيْ ، وَخَلِيْفَتِيْ فِيْكُمْ ، فَاسْمَعُوْا لَهُ وَأَطِيْعُوْا »قال فقام القوم يضحكون ويقولون لأبي طالب قد أمرك أن تسمع لابنك وتطيع
تاريخ الطبري ج 1 ص 542-543

ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)กล่าวว่า  โอ้บนีอับดุลมุฏลิบ  ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ แท้จริงฉันไม่เคยรู้มาก่อนว่า จะมีชายหนุ่มคนใดในอาหรับได้นำมายังหมู่ชนของเขา ด้วยสิ่งที่ประเสริฐสุดมากไปกว่าสิ่งที่ฉันได้มันมาให้พวกท่าน  ฉันได้นำมายังพวกท่านด้วยความดีงามทั้งดุนยาและอาคิเราะฮ์ และอัลลอฮ์ ตะอาลาได้บัญชาให้ฉันเชิญชวนพวกท่านไปยังพระองค์
ดังนั้น(ขอถามว่า) พวกท่านคนใดจะช่วยเหลือฉันบนภารกิจนี้  โดยเขาจะได้มาเป็น" พี่น้องของฉัน  วะซีของฉัน และคอลีฟะฮ์ของฉัน(ภายหลังจากฉัน)ในหมู่พวกท่าน "   หมู่ชนนั้นได้ทยอยออกไปจากท่านทั้งหมด
(ท่านอะลี)เล่าว่า ตอนนั้นฉันอายุน้อยที่สุด...(ได้กล่าวว่า )  ฉันเอง โอ้ท่านนบีแห่งอัลลอฮ์ ฉันจะเป็นผู้ช่วยเหลือท่านบนภารกิจนั้น   ท่านนบีได้จับที่ต้นคอของฉันแล้วกล่าวว่า
บุคคลนี้คือ  " พี่น้องของฉัน  วะซีของฉัน และคอลีฟะฮ์ของฉัน(ภายหลังจากฉัน)ในหมู่พวกท่าน "  ดังนั้นขอให้พวกท่านจงเชื่อฟังและปฏิบัติตามเขาเถิด
หมู่ชนนั้นลุกขึ้นไป พวกเขาหัวเราะ และกล่าวกับอบูตอลิบว่า  เขา(มุฮัมมัด)สั่งให้ท่านเชื่อฟังและปฏิบัติลูกชายของท่านเอง.



วิเคราะห์

ท่านอิบนุอับบาสภูมิใจกับสิ่งท่านนบี(ศ)กล่าวว่า  อะลีคือพี่น้องของฉัน  วะซีของฉัน และคอลีฟะฮ์ของฉัน

ด้วยเหตุนี้ท่านอิบนุอับบาสจึงนับว่ามันเป็นฟะดีลัตประการหนึ่งของท่านอะลี
  •  

L-umar


ฟะดีลัตที่  สี่


ท่านอิบนุอับบาสเล่าว่า :

ท่านอะลี คือชายคนแรกที่เข้ารับอิสลาม
โดยท่านหญิงคอดีญะฮ์เข้ารับอิสลามก่อนท่านอะลี

เชิญอ่านหลักฐานได้ที่กระทู้นี้

http://www.q4sunni.com/believe/index.php?option=com_kunena&Itemid=71&func=view&catid=2&id=812


ท่านอิบนุอับบาสถือว่า การที่ท่านอะลีเข้ารับอิสลามกับท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)เป็นชายคนแรกคือฟะดีลัตหนึ่งที่บ่งบอกว่า เขามีความเข้าใจสัจธรรมเร็วกว่าชาวอาหรับทั้งหลายในยุคนั้น
  •  

L-umar



ฟะดีลัตที่ ห้า


ท่านอิบนุอับบาสเล่าว่า :

ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) เอาผ้ากีซาคลุมบนท่านอะลี ฟาติมะฮ์ ฮาซันและฮูเซน  พลางท่านได้อ่านอายะฮ์ที่ถูกประทานลงมายังพวกเขาว่า

إِنَّمَا يُرِيدُ اللَّهُ لِيُذْهِبَ عَنْكُمُ الرِّجْسَ أَهْلَ الْبَيْتِ وَيُطَهِّرَكُمْ تَطْهِيرًا

อันที่จริง อัลเลาะฮ์ทรงประสงค์ที่จะขจัดความโสมมออกจากพวกเจ้า โอ้อะฮ์ลุลบัยต์ของนบี  และ(ทรงประสงค์ที่จะ)ชำระพวกเจ้าให้สะอาดบริสุทธิ์ )  

บทที่ 33 โองการที่ 33


เป็นที่รู้กันดีว่าโองการนี้พูดถึง อะฮ์ลุลบัยต์ของนบีมุฮัมมัด แต่เราต้องการทำความเข้าใจว่าอะฮ์ลุลบัยต์นบีในโองการนี้เป็น

อะฮ์ลุลบัยต์ คอศ (พิเศษ)

หรือ

อะฮ์ลุลบัยต์ อาม (ธรรมดา) ?


โดยเราจะให้ท่านนบีมุฮัมมัดเป็นผู้อธิบายความหมายของคำว่าอะฮ์ลุลบัยต์ที่กล่าวอยู่ในโองการนี้เอง
  •  

L-umar


หะดีษที่ 1

ซูเราะตุลอะห์ซาบ บทที่ 33 โองการที่ 33  ถูกประทานลงมาที่บ้านของท่านหญิงอุมมุ สะละมะฮ์  

عَنْ عُمَرَ بْنِ أَبِيْ سَلَمَة رَبِيْبِ النَّبِيّ ( ص ) قَالَ : لمَاَّ نَزَلَتْ هذِهِ الْآيَةُ عَلَى النَّبِيِّ ( ص )   : { ... إِنَّمَا يُرِيدُ اللَّهُ لِيُذْهِبَ عَنكُمُ الرِّجْسَ أَهْلَ الْبَيْتِ وَيُطَهِّرَكُمْ تَطْهِيرًا }  فِيْ بَيْتِ أُمِّ سِـلَمَة ،
فَدَعَا فَاطِمَةَ وَ حَسَناً وَ حُسَيْناً ، وَ عَلِيٌّ خَلْفَ ظَهْرِهِ ، فَجَلَلَّهُمْ بِكِسَاءٍ ،
ثُمَّ قَالَ : \\\" اللّهُمَّ هَؤُلاءِ أهْلُ بَيْتِيْ ، فَأذْهِبْ عَنْهُمُ الرِّجْسَ وَ طَهِّرْهُمْ تَطْهِيْراً \\\" .
قَالَتْ أُمُّ سَلَمَة : وَ أنَا مَعَهُمْ يَا نَبِيَّ اللهِ ؟  قَالَ : \\\" أنْتِ عَلَى مَكَانِكِ وَ أنْتِ عَلَى خَيْرٍ \\\"
صحيح الترمذي  ح : 2562 نوع الحديث : صحيح

ท่านอุมัร บุตรอบีสะละมะฮ์ บุตรบุญธรรมของท่านนบี(ศ็อลฯ)เล่าว่า :

 ตอนที่โองการนี้ได้ประทานลงมาแก่ท่านนบี(ศ) คือ  :  อันที่จริง อัลเลาะฮ์ทรงประสงค์ที่จะขจัดความโสมมออกจากพวกเจ้า โอ้อะฮ์ลุลบัยต์ของนบี  และ(ทรงประสงค์ที่จะ)ชำระพวกเจ้าให้สะอาดบริสุทธิ์ )  
ณ.ที่บ้านของท่านหญิงอุมมุ สะละมะฮ์ (ร.ฎ.)  
ท่านนบีฯได้เรียกท่านหญิงฟาติมะฮ์  ฮาซันและฮูเซนมาและท่านอะลีอยู่ข้างหลังท่าน แล้วท่านได้คลุมพวกเขาด้วยผ้ากีซาอ์จากนั้นท่านกล่าวว่า :

" โอ้อัลลอฮ์  พวกเขาคืออะฮ์ลุลบัยต์ของข้าพเจ้า "

ขอพระองค์โปรดขจัดความโสมมให้พ้นไปจากพวกเขา และได้โปรดชำระพวกเขาให้บริสุทธิ์อย่างแท้จริง
ท่านหญิงอุมมุ สะละมะฮ์(ร.ฎ)กล่าวว่า : ขอให้ข้าพเจ้าได้อยู่พร้อมกับพวกเขาด้วยเถิด  โอ้ท่านศาสดาแห่งอัลเลาะฮ์   ท่านตอบว่า :  เธออยู่บนที่ของเธอและเธออยู่บนความดี

สถานะของหะดีษ : ซอฮี๊ฮฺ  ดูหนังสือซอฮีฮุต-ติรมิซี  

ตรวจทานโดยเชคมุฮัมมัด นาศิรุดดีน อัลบานี  หะดีษที่ 2562




หะดีษที่ 2


ท่านอะลี ฟาติมะฮ์ ฮาซันและฮูเซนคือ อะฮ์ลุลบัยต์ คอศ

عَنْ أُمِّ سَلَمَةَ أَنَّ النَّبِىَّ -صلى الله عليه وسلم- جَلَّلَ عَلَى الْحَسَنِ وَالْحُسَيْنِ وَعَلِىٍّ وَفَاطِمَةَ كِسَاءً ثُمَّ قَالَ « اللَّهُمَّ هَؤُلاَءِ أَهْلُ بَيْتِى وَخَاصَّتِى أَذْهِبْ عَنْهُمُ الرِّجْسَ وَطَهِّرْهُمْ تَطْهِيرًا ».
فَقَالَتْ أُمُّ سَلَمَةَ وَأَنَا مَعَهُمْ يَا رَسُولَ اللَّهِ قَالَ « إِنَّكِ إِلَى خَيْرٍ ».
صحيح الترمذي  ح : 3038 نوع الحديث : صحيح

ท่านหญิงอุมมุ สะละมะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุ อันฮาเล่าว่า : แท้จริงท่านนบีฯได้เอาผ้ากีซาอ์คลุมบนตัวอัลฮาซัน ,อัลฮูเซน,อะลีและฟาติมะฮ์ จากนั้นท่านกล่าวว่า  :

โอ้อัลลอฮ์บุคคลเหล่านี้คืออะฮ์ลุลบัยต์ของฉันและเป็น(อะฮ์ลุลบัยต์)พิเศษของฉัน

โปรดขจัดความโสมมออกจากพวกเขา และโปรดชำระพวกเขาให้สะอาดบริสุทธิ์ด้วยเถิด
ท่านหญิงอุมมุ สะละมะฮ์กล่าวว่า : ขอให้ข้าพเจ้าได้อยู่พร้อมกับพวกเขาด้วยเถิด  โอ้ท่านรอซูลุลลอฮ์     ท่านตอบว่า :  เธอไปยังความดี

สถานะของหะดีษ : ซอฮี๊ฮฺ  ดูหนังสือซอฮีฮุต-ติรมิซี  

ตรวจทานโดยเชคมุฮัมมัด นาศิรุดดีน อัลบานี  หะดีษที่ 3038




หะดีษที่ 3


ท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุ อันฮาได้รายงานหะดีษกิซาไว้สั้นๆว่า

عَنْ عَائِشَة قَالَتْ : \\\" خَرَجَ النَّبِيُّ صلَّى الله عليه وسلم غَدَاةً وَ عَلَيْهِ مِرْطٌ  مُرَحِّلٌ  مِنْ شَعْرٍ أَسْوَد فَجَاءَ الْحَسَنُ بْنُ عَلِيٍّ فَأَدْخَلَهُ ، ثُمَّ جَاءَ الْحُسَيْنُ فَدَخَلَ مَعَهُ ، ثُمَّ جَاءَتْ فَاطِمَةُ فَأَدْخَلَهَا ، ثُمَّ جَاءَ عَلِيٌّ فَأَدْخَلَهُ ، ثُمَّ قَالَ :{ ... إِنَّمَا يُرِيدُ اللَّهُ لِيُذْهِبَ عَنكُمُ الرِّجْسَ أَهْلَ الْبَيْتِ وَيُطَهِّرَكُمْ تَطْهِيرًا }.

ท่านหญิงอาอิชะฮ์เล่าว่า :  ท่านนบี (ศ)ได้ออกมาในตอนเช้าวันหนึ่ง ที่ท่านมีผ้าห่ม(กีซาอ์)สีดำปักลายรูปการเดินทางของอูฐ เมื่อฮาซันบุตรของอะลีมาถึงท่านก็ให้เข้าไปอยู่ในผ้าห่ม หลังจากนั้นฮูเซนมาถึงก็เข้าไปอยู่ด้วย จากนั้นฟาติมะฮ์ได้มาถึง ท่านก็ได้ให้เข้าไปอยู่ด้วย เมื่ออาลีมาถึงท่านก็ให้เข้าไปอยู่ในผ้าห่มกับท่านด้วย แล้วท่านนบี(ศ)ได้กล่าวว่า : ( อันที่จริง อัลเลาะฮ์ทรงประสงค์ที่จะขจัดความโสมมออกจากพวกเจ้า โอ้อะฮ์ลุลบัยต์ของนบี  และ(ทรงประสงค์ที่จะ)ชำระพวกเจ้าให้สะอาดบริสุทธิ์ )              

อ้างอิงจาก ซอฮีฮุ มุสลิม   หะดีษที่ 4450



สรุป

1.   โองการนี้มีชื่อว่า อายะตุฏ-ตัฏฮีร - โองการแห่งความบริสุทธิ์
2.   บทที่ 33 : 33 ถูกประทานลงมาที่บ้านของท่านหญิงอุมมุ สะละมะฮ์
3.   หะดีษนี้มีชื่อว่า หะดีษ กีซาอ์ - ผ้าคลุมกีซาอ์
4.   ท่านนบีฯเรียก อะลี ฟาติมะฮ์ ฮาซันและฮูเซนว่า อะฮ์ลุลบัยต์คอศ  ดังที่ตัวบทหะดีษระบุว่า ( هؤُلاَءِ أَهْلُ بَيْتِيْ وَخَاصَّتِيْ ) พวกเขาเหล่านี้คืออะฮ์ลุลบัยต์พิเศษของฉัน
5.   หะดีษกีซาอ์ได้กำหนดว่า " อะฮ์ลุลบัยต์คอศ "  คือ
1.   อะลี บุตร อบู ตอลิบ อะลัยฮิสสลาม
2.   ฟาติมะฮ์ บุตรีรอซูลุลเลาะฮ์ อะลัยฮัสสลาม
3.   ฮาซัน บุตรอะลี อะลัยฮิสสลาม
4.   ฮูเซน บุตรอะลี อะลัยฮิสสลาม


ความจริงเกี่ยวกับอายะฮ์ตัฏฮีร


ในช่วงบั้นปลายชีวิตของท่านนบีมุฮัมมัด(ศ) มีวันหนึ่งท่านอยู่ที่บ้านภรรยาของท่านชื่อท่านหญิงอุมมุ สะละมะฮ์ (ร.ฎ.)    มีโองการหนึ่งได้ประทานลงมา   ท่านจึงให้ไปเรียกท่านอะลี,ฟาติมะฮ์,ฮาซันและฮุเซน(อ)มาพบ  แล้วท่านได้เอาผ้ากีซาอ์คลุมพวกเขาทั้งสี่คน  จากนั้นท่านกล่าวว่า : ( اللهم هؤلاء أهل بيتي )  อัลลอฮุมมะ ฮาอุลาอิ อะฮ์ลุ บัยตี แปล โอ้อัลเลาะฮ์ พวกเขาเหล่านี้คือ อะฮ์ลุลบัยต์ของข้าพเจ้า  
  •  

L-umar


บรรดาบุคคลที่ยืนยันว่า อะฮ์ลุลบัยต์พิเศษคือท่านอะลี,ฟาติมะฮ์,ฮาซันและฮุเซนคือ :

ศาสดามุฮัมมัด (ศ)

ฟาติมะฮ์ บุตรี ศาสดามุฮัมมัด

ภรรยาศาสดามุฮัมมัด  มีสองคน

1, ท่านหญิงอาอิชะฮ์  
2,ท่านหญิงอุมมุ สะละมะฮ์


ซอฮาบะฮ์ท่านนบี มี 17 คน

1.อบู สะอีด อัลคุดรี
2.อบู บะร่อซะฮ์
3.อบุล ฮัมรอห์
4.อบู ลัยลา อัลอันซอรี
5.อะนัส บิน มาลิก
6.อัลบัรรออ์ บิน อาซิบ
7.เษาบาน
8.ญาบิร บิน อับดุลลอฮ์ อัลอันศอรี
9.เซด บิน อัรก็อม
10.ซัยนับ บินติ อบี สะละมะฮ์
11.สะอัด บิน อบี วักก็อศ
12.ซอเบี๊ยะห์ คนรับใช้อุมมุ สะละมะฮ์
13.อับดุลลอฮ์ บิน ญะอ์ฟัร
14.อัลดุลลอฮ์ บิน อับบาส
15.อุมัร บิน อบี สะมะมะฮ์
16.อุมัร บิน ค็อฏฏ็อบ
17.วาษิละฮ์  บิน อัลอัสเกาะอ์   


บรรดาอิม่ามที่มาจากอะฮ์ลุลบัยต์นบี


1,อิม่ามอะลี บิน อบีตอลิบ

2,อิม่ามฮาซัน บิน อะลี

3,อิม่ามฮุเซน บิน อะลี

4,อิม่ามอะลี บิน ฮุเซน

5,อิม่ามมุฮัมมัด บิน อะลี

6,อิม่ามญะอ์ฟัร บิน มุฮัมมัด

7,อิม่ามมูซา บิน ญะอ์ฟัร

8,อิม่ามอะลี บิน มูซา

9,อิม่ามมุฮัมมัด บิน อะลี

10,อิม่ามอะลี บิน มุฮัมมัด

11,อิม่ามฮาซัน บิน อะลี

12,อิม่ามมุฮัมมัดมะฮ์ดี บิน ฮาซัน อัสการี


ทุกคนมักจะกล่าวเสมอว่า - نحن أهل بيت النبتي – พวกเราคืออะฮ์ลุลบัยต์นบี
  •  

L-umar


รายชื่อ 40 มุฟัสสิรชีอะฮ์ที่กล่าวว่า : อะอ์ลุลบัยต์ในอายัตตัฏฮีรนั้นหมายถึง : ท่านนบีมุฮัมมัด,อะลี,ฟาติมะฮ์,ฮาซันและฮุเซน (อ) :



1.   ตัฟสีรฟุรอต กูฟีย์ เล่ม1หน้า331 โดยฟุรอต บินอิบรอฮีมอัลกูฟีย์ (ฮศ.255-300)
2.   ตัฟสีรอัลฮิบรีย์ เล่ม1หน้า297 โดยอบู อัลดุลลอฮ์ อัลกูฟี อัลฮุเซนบินอัลฮะกัม(ฮศ.286)
3.   ตัฟสีรอัลกุมมีย์ เล่ม2หน้า189โดยอบุลฮาซัน อาลี บินอิบรอฮีม บินฮาชิม อัลกุมมีย์(มรณะฮศ.307)
4.   ตัฟสีรอัลอะยาชีย์ เล่ม1หน้า215โดยอัลอะยาชีย์(มรณะฮศ.320)
5.   ตัฟสีรอัต-ติบยาน เล่ม8หน้า338 โดยอบู ญะอ์ฟัร มุฮัมมัดบินฮเซนบินอาลีอัฏ-ฏูซีย์(เกิดฮศ.460)
6.   ตัฟสีรญะวามิอุล ญามิ๊อ์ เล่ม3หน้า313 โดยอะมีนุดดีน อบูอาลี อัลฟัฎล์ บินฮาซัน อัฏ-ฏ็อบรอซีย์ (เกิดฮศ.549)
7.   ตัฟสีรเราฎุล ญินาน วะรูฮุล ญินาน เล่ม 15หน้า414  โดยฮุเซน บินอะลี มุฮัมมัดบินอะหมัด อัลคุซาอี อันนัยซาบูรีย์(เกิดฮศ.552)
8.   ตัฟสีรมุตะชาบิฮุลกุรอาน เล่ม2หน้า52  โดยอิบนุ ชะฮัร ออชูบ มาซินดะรอนีย์(ฮศ.489-588)
9.   ตัฟสีรกาซัร  เล่ม 8หน้า 5    โดยอบุล มะฮาซิน อัลฮุเซนบินฮาซัน อัลญุรญานีย์(เกิดปลายศตวรรษฮศ.ที่900)
10.   ตัฟสีรตะอ์วีลุลอาย๊าต ซอฮิรอต หน้า439 โดยสัยยิดชะรอฟุดดีน ฮุซัยนี อิสติร ออบอดีย์ (มรณะฮศ.940)
11.   ตัฟสีรมะวาฮิบ อะลัยฮิ  เล่ม 3หน้า477 โดยกะมาลุดดีน ฮุเซน วาอิซ กาชีฟีย์ (เกิดฮศ.910)
12.   ตัฟสีรมันฮะญุซ-ซอดิกีน  เล่ม 7หน้า315 โดยมุลลา ฟัตฮุลลอฮ์ อัลกาชานีย์ (เกิดฮศ.977-988)

13.   ตัฟสีรชะรีฟ ลาฮีญีย์ เล่ม 3หน้า 63 โดยเชคอาลี ชะรีฟ อัลลาฮีญีย์ (เกิดฮศ.1088)
14.   ตัฟสีรอิษนา อะชัร เล่ม 10หน้า439 โดยฮุเซน บินอะหมัด อัลฮุซัยนี ชาฮ์ อัลดุลอะซีมีย์ (เกิดฮศ.1384)
15.   ตัฟสีรอันวารุ ดิรัคชอน เล่ม13หน้า103 โดยสัยยิดมุฮัมมัด อัลฮุซัยนีอัลฮะมะดานีย์
16.   ตัฟสีรญามิ๊อ์  เล่ม5หน้า351 โดยสัยยิด อิบรอฮีม อัลบุรูญัรดีย์
17.   ตัฟสีรฮุจญะตุต-ตะฟาสีร เล่ม5หน้า217  โดยอัลดุลฮุจญะฮ์ อัลบะลาฆีย์
18.   ตัฟสีรกัชฟุล ฮะกออิก เล่ม2หน้า885 โดยมุฮัมมัดกะรีม อัลอะละวี อัลฮุซัยนีย์
19.   ตัฟสีรคุส รูว์ เล่ม7หน้า29 โดยชาฮ์ซอเดะฮ์ อาลี เรซ่า มีรซาคุสรูวานีย์(เกิดฮศ.1386)
20.   ตัฟสีรอามิลีย์ เล่ม7หน้า179 โดยอิบรอฮีม อัลอามิลีย์
21.   ตัฟสีรอะห์สะนุลฮะดีษ เล่ม8 หน้า352 โดยสัยยิดอาลี อักบัร กุเรชีย์
22.   ตัฟสีรอัซ-ซอฟีย์ เล่ม4หน้า186 โดยเมาลามุห์ซิน เฟซกาชานีย์(เกิดฮศ.1091)
23.   ตัฟสีรอัลบุรฮาน เล่ม4หน้า307โดยสัยยิดฮาชิม อัลบะห์รอนีย์(เกิดฮศ.1107)
24.   ตัฟสีรนูรุษ-ษะก่อลัยน์ เล่ม4หน้า268 โดยเชคอับดุ อาลี บินญุมอะฮ์ อัลอะรูซี อัลฮุวัยซีย์ (เกิดฮศ.1112)
25.   ตัฟสีรอัลมุอีน เล่ม2หน้า111 โดยเมาลานูรุดดีน มุฮัมมัด บินมุรตะฎอ อัลกาชานีย์(มรณะหลังฮศ.ที่1115)
26.   ตัฟสีรกันซุล ดะกออิก เล่ม10หน้า371 โดยเชคมุฮัมมัดบินมุฮัมมัด ริฎอ อัลกุมมี อัลมัชฮะดีย์ (อาลิมในยุคศตวรรษที่12ฮศ.)
27.   ตัฟสีรอัลเญาฮะรุษ-ษะมีน เล่ม5หน้า145 โดยสัยยิดอับดุลลอฮ์ ชุบบัร(เกิดฮศ.1242)
28.   ตัฟสีรบะยานุสสะอาดะฮ์ เล่ม3หน้า245 โดยฮัจญีซุลตอน มุฮัมมัด อัลญะนาบิซีย์(เกิดฮศ.1327)
29.   ตัฟสีรมุกตะนียาตุด-ดุร็อร เล่ม7หน้า300โดยมีรสัยยิด อาลี อัลฮาอิรี อัฏเตฮฺรอนีย์(เกิดฮศ.1340)
30.   ตัฟสีรตักรีบุลกุรอาน เล่ม22หน้า12 โดยสัยยิดมุฮัมมัด อัลฮุเซน อัช-ชีรอซีย์  
31.   ตัฟสีรอัลมุนีร เล่ม6หน้า293 โดยมุฮัมมัด อัลกัรมีย์
32.   ตัฟสีรอัลกาชิฟ เล่ม6หน้า215 โดยมุฮัมมัด ญะวาด มุฆนียะฮ์(เกิดฮศ.1400)
33.   ตัฟสีรอัลมีซาน เล่ม16หน้า327 โดยสัยยิดอัลลามะฮ์ตะบาตะบาอีย์(เกิดฮศ.1402)
34.   ตัฟสีรมัคซะนุล อิรฟาน เล่ม8หน้า223 โดยบอนูเย่ อิศฟะฮานีย์(เกิดฮศ.1404)
35.   ตัฟสีรอัลญะดีด เล่ม5หน้า435 โดยเชคมุฮัมมัด ซับซะวอรีย์ อัน-นะญะฟีย์(เกิดฮศ.1410)
36.   ตัฟสีรอัฏยะบุลบะยาน เล่ม10หน้า500โดยสัยยิดอับดุลฮุเซน ต็อยยิบ(เกิดฮศ.1411)
37.   ตัฟสีรมิน ฮุดา อัลกุรอาน เล่ม10หน้า322 โดยอยาตุลลอฮ์สัยยิดมุฮัมมัด ตะกี อัลมุดัรริซีย์
38.   ตัฟสีรอัลบะซออิร เล่ม32หน้า25โดยยะอ์ซูบุด-ดีน รัตเตะก็อร ญูเยบอรีย์
39.   ตัฟสีรมิน วะห์ยิล กุรอาน เล่ม18หน้า315โดยอยาตุลลอฮ์สัยยิดมุฮัมมัด ฮุเซนฟัฎลุลลอฮ์
40.   ตัฟสีรอัลอัมษัล เล่ม13หน้า221 โดยอยาตุลลอฮ์ นาศิร มะการิม อัช-ชีรอซีย์

เมื่อท่านเปิดดูซูเราะฮ์ที่ 33 อายะฮ์ที่ 33 ทุกตัฟสีรจะกล่าวตรงกันว่า : อะอ์ลุลบัยต์ใน

อายัตตัฏฮีรนั้นคือ : ท่านนบีมุฮัมมัด,อะลี,ฟาติมะฮ์,ฮาซันและฮุเซน (อ)
  •  

L-umar



รายชื่อ 10 มุฟัสสิรซุนนี่ที่กล่าวว่า ว่า : อะอ์ลุลบัยต์ในอายัตตัฏฮีรนั้นหมายถึง : ท่านนบีมุฮัมมัด,อะลี,ฟาติมะฮ์,ฮาซันและฮุเซน (อ) :


1- ตัฟสีรอัฏ-ฏ็อบรีย์ โดยอิบนุ ญะรีร อัฏ-ฏ็อบรีย์(มรณะฮศ.310)

2 - ตัฟสีรอิบนุ อะตียะฮ์  โดยอิบนุ อะตียะฮ์  ( มรณะฮศ.542 )

3 - ตัฟสีรอันนุกัต วัลอุยูน โดยอัลมาวัรดีย์(ฮศ.450)

4 – ตัฟสีรมะอาลิมุต-ตันซีล โดยอัลบะฆ่อวีย์ (มรณะฮศ.510)

5 - ตัฟสีรุลกุรอาน โดยอิบนุ อับดุสลาม(มรณะฮศ.660)

6 – ตัฟสีร ลุบาบุต-ตันซีล ฟีมะอานิต-ตันซีล โดยอัลคอซิน (มรณะฮศ.741)

7- ตัฟสีรบะห์รุลมุฮีฏ โดยอบู ฮัยยาน(มรณะฮศ.745)

8 - ตัฟสีรอัลญะวาฮิรุล ฮิซาน โดยอัษ-ษะอาละบีย์(มรณะฮศ.875)

9 - ตัฟสีรอัดดุรรุล มันษูร  โดยสิยูตีย์(ฮศ.911)

10 - ตัฟสีรฟัตฮุลกอดีร  โดยอัช-เชากานีย์(มรณะฮศ.1250)



เราจึงเข้าใจเหมือนที่ท่านนบี(ศ),บุตรสาวนบี,ภรรยานบีและซอฮาบะฮ์,เข้าใจว่า
อะฮ์ลุลบัยต์พิเศษ  ในหะดีษหมายถึง ท่านอะลี ฟาติมะฮ์ ฮาซันและฮูเซน

ด้วยเหตุนี้ท่านอิบนุอับบาส จึงนับว่าเหตุการณ์ณืที่ท่านนบี(ศ)เอาผ้ากีซาคลุมท่านอะลีและครอบครัวคือฟะดีลัตประการหนึ่ง  ที่บ่งบอกถึงความบริสุทธิ์ในอะกีดะฮ์และอามั้ลของพวกเขา.

 
  •  

L-umar



ฟะดีลัตที่ หก


ท่านอิบนุอับบาสเล่าว่า :

ค่ำคืนแห่งการฮิจเราะฮ์ -  لَيْلَةُ الْهِجْرَةِ   ( อพยพจากมักกะฮ์ไปมะดีนะฮ์)    



ท่านอะลีได้เอาชีวิตตัวเองเสียสละแทนท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)  เขาได้สวมใส่เสื้อผ้าของนบี(ศ)แล้วนอนบนที่นอนของท่าน   เพื่ออำพรางพวกมุชริกที่เฝ้าซุ่มทำร้ายอยู่รอบบ้านท่านนบี(ศ)   ทำให้พวกมุชริกคิดว่า ผู้ที่นอนอยู่คือท่านนบี(ศ) แต่ความจริงท่าน นบี(ศ)ได้เดินทางไปออกไปจากนครมักกะฮ์แล้ว  ส่วนคนที่นอนอยู่บนที่นอนคืออะลี

พวกมุชริกพยายามเอาก้อนหินขว้างใส่คนที่นอนคลุมโปง เพื่อให้ทนเจ็บไม่ไหว จะได้โผล่หน้าออกมาให้พวกเขาเห็นว่าเป็นใคร  แต่ปรากฏว่า ท่านอะลียอมทนเจ็บนอนคลุมโปงอยู่อย่างนั้นจนเช้า  เมื่อพวกมุชริกบุกเข้ามาในบ้าน  จึงประจักษ์ว่า  พวกเขาถูกหลอกเสียแล้ว

มุสลิมทุกคนย่อมปรารถนาที่จะญิฮ๊าดเสีลสละเพื่ออัลเลาะฮ์และรอซูล
และการเสียสละชีวิตของท่านอะลี เพื่อปกป้องรักษาชีวิตของท่านศาสดาแห่งอิสลามในครั้งนี้ นับได้ว่า เป็นฟะดีลัตที่มีค่ายิ่ง  



นักวิชาการได้บันทึกเรื่องราวของท่านอะลีไว้ดังนี้

อัสบาบุลนุซูลของซูเราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์ อายะฮ์ที่  207 มีดังนี้


وَمِنَ النَّاسِ مَنْ يَشْرِي نَفْسَهُ ابْتِغَاءَ مَرْضَاةِ اللَّهِ وَاللَّهُ رَءُوفٌ بِالْعِبَادِ

และในหมู่มนุษย์นั้น  มีผู้ที่ขายตัวของเขาเอง เพื่อแสวงหาความพอพระทัยของอัลลอฮ์

และอัลลอฮ์นั้นเป็นผู้ทรงปรานีแก่ปวงบ่าวทั้งหลาย




หนึ่ง- อัลกุรตุบี กล่าวว่า  

نزلت في علي رضي الله عنه حين تركه النبي صلى الله عليه و سلم على فراشه ليلة خرج إلى الغار
تفسير القرطبي  ج 3 ص 23

โองการนี้ถูกประทานลงมาเกี่ยวกับท่านอะลี ตอนท่านนบี(ศ)ทิ้งเขาให้นอนบนที่นอนของท่าน ในคืนที่ท่านได้ออกไปยังถ้ำ             ดูตัฟสีรกุรตุบี  เล่ม 3 : 23  


สอง - อัลฟัครุล รอซี  กล่าวว่า

والرواية الثالثة : نزلت في علي بن أبي طالب بات على فراش رسول الله صلى الله عليه وسلم ليلة خروجه إلى الغار
تفسير الرازي  ج 3 ص 222

รายงานที่ สาม กล่าวว่า  โองการนี้ถูกประทานลงมาเกี่ยวกับท่านอะลี  เขาได้นอนบนที่นอนของท่านรอซูล(ศ)ในคืนที่ท่านได้ออกไปยังถ้ำ             ดูตัฟสีรอัลรอซี เล่ม 3 : 222


สาม - อิบนุอาดิล กล่าวว่า

وقيل : نزلت في عليِّ بن أبي طالبٍ - رضي اللَّهُ عنه - باتَ على فِراشِ رسُول اللَّهِ - صلى الله عليه وسلم - ليلةً خُروجهِ لى الغار .
تفسير اللباب لابن عادل ج 2  ص 479
กล่าวว่า  โองการนี้ถูกประทานลงมาเกี่ยวกับท่านอะลี  เขาได้นอนบนที่นอนของท่านรอซูล(ศ)ในคืนที่ท่านได้ออกไปยังถ้ำ             ดูตัฟสีรอัลลุบาบ เล่ม 2 : 479


สี่ - นิซอมุดดีน อันัยซาบูรี กล่าวว่า

وقيل : نزلت في علي رضي الله عنه بات على فراش رسول الله صلى الله عليه وسلم ليلة خروجه إلى الغار . تفسير النيسابوري ج 2 ص 8

กล่าวว่า  โองการนี้ถูกประทานลงมาเกี่ยวกับท่านอะลี  เขาได้นอนบนที่นอนของท่านรอซูล(ศ)ในคืนที่ท่านได้ออกไปยังถ้ำ             ดูตัฟสีรอันนัยซาบูรี เล่ม 3 : 8


ห้า - อัลอะลูซี กล่าวว่า

الشيخ النجدي : القول ما قال الرجل هو هذا الرأي لا أرى غيره فتفرقوا على ذلك ، فأتى جبريل عليه السلام رسول الله صلى الله عليه وسلم فقال : لا تبت هذه الليلة على فراشك الذي كنت تبيت عليه فلما كانت عتمة من الليل اجتمعوا على بابه يرصدونه متى ينام فيثبون عليه فلما رأى رسول الله صلى الله عليه وسلم مكانهم قال لعلي كرم الله تعالى وجهه نم على فراشي
تفسير الألوسي - (ج 7 / ص 65

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูตัฟสีร อัลอะลูซี  เล่ม 7 : 65



ตำราซีเราะตุน-นบี (ชีวประวัติของท่านนบีมุฮัมมัด ศ.)

มีตำราซีเราะฮ์นบีมากมายได้บันทึกเหตุการณ์คืนที่ท่านนบี(ศ)ฮิจเราะฮ์ออกจากมักกะฮ์ไปมะดีนะฮ์และให้ท่านอะลีนอนบนที่นอนแทนตัวท่าน  ดังนี้


หก - เจ้าของหนังสือเราฎุลอันฟิ  กล่าวว่า

مِمّا يُقَالُ عَنْ لَيْلَةِ الْهِجْرَةِ
فَأَتَى جِبْرِيلُ عَلَيْهِ السّلَامُ رَسُولَ اللّهِ صَلّى اللّهُ عَلَيْهِ وَسَلّمَ فَقَالَ لَا تَبِتْ هَذِهِ اللّيْلَةَ عَلَى فِرَاشِك الّذِي كُنْت تَبِيتُ عَلَيْهِ . قَالَ فَلَمّا كَانَتْ عَتَمَةٌ مِنْ اللّيْلِ اجْتَمَعُوا عَلَى بَابِهِ يَرْصُدُونَهُ مَتَى يَنَامُ فَيَثِبُونَ عَلَيْهِ فَلَمّا رَأَى رَسُولُ اللّهِ صَلّى اللّهُ عَلَيْهِ وَسَلّمَ مَكَانَهُمْ قَالَ لِعَلِيّ بْنِ أَبِي طَالِبٍ \\\" نَمْ عَلَى فِرَاشِي
الروض الأنف - (ج 2 / ص 308

สิ่งที่กล่าวเกี่ยวกับคืนแห่งการฮิจเราะฮ์
ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูอัลเราฎุลอันฟิ  เล่ม 2 : 308


เจ็ด - อิบนุฮิชาม กล่าวว่า


[ خُرُوجُ النّبِيّ صَلّى اللّهُ عَلَيْهِ وَسَلّمَ وَاسْتِخْلَافُهُ عَلِيّا عَلَى فِرَاشِهِ ]
فَأَتَى جِبْرِيلُ عَلَيْهِ السّلَامُ رَسُولَ اللّهِ صَلّى اللّهُ عَلَيْهِ وَسَلّمَ فَقَالَ لَا تَبِتْ هَذِهِ اللّيْلَةَ عَلَى فِرَاشِك الّذِي كُنْت تَبِيتُ عَلَيْهِ . قَالَ فَلَمّا كَانَتْ عَتَمَةٌ مِنْ اللّيْلِ اجْتَمَعُوا عَلَى بَابِهِ يَرْصُدُونَهُ مَتَى يَنَامُ فَيَثِبُونَ عَلَيْهِ فَلَمّا رَأَى رَسُولُ اللّهِ صَلّى اللّهُ عَلَيْهِ وَسَلّمَ مَكَانَهُمْ قَالَ لِعَلِيّ بْنِ أَبِي طَالِبٍ نَمْ عَلَى فِرَاشِي
سيرة ابن هشام - (ج 1 / ص 482

ท่านนบี(ศ)ออกเดินทาง และให้ท่านอะลีนอนบนที่นอนอของท่าน :
ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูซีเราะฮ์ อิบนิฮิชาม  เล่ม 1 : 482


แปด - เจ้าของหนังสืออุยูนุลอะษัรกล่าวว่า

فتفرق القوم على ذلك وهم مجمعون له فأتى جبريل رسول الله صلى الله عليه وسلم فقال لا تبت هذه الليلة على فراشك الذى كنت تبيت عليه قال فلما كانت عتمة من الليل اجتمعوا على بابه يرصدونه حتى ينام فيثبون عليه فلما رأى رسول الله صلى الله عليه وسلم مكانهم قال لعلى بن أبى طالب نم على فراشي
عيون الأثر - (ج 1 / ص 235

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูอุยูนุลอะษัร   เล่ม 1 : 235


เก้า - อิบนุกะษีร กล่าวว่า


 فتفرق القوم على ذلك وهم مجمعون له.
فأتى جبرائيل رسول الله صلى الله عليه وسلم فقال له: لا تبت هذه الليلة على فراشك الذى كنت تبيت عليه.
قال: فلما كانت عتمة من الليل اجتمعوا على بابه يرصدونه حتى ينام فيثبون عليه، فلما رأى رسول الله صلى الله عليه وسلم مكانهم قال لعلى بن أبى طالب: نم على فراشي
السيرة النبوية لابن كثير - (ج 2 / ص 229

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูซีเราะตุน นะบะวียะฮ์  เล่ม 2 : 229


สิบ - มุฮัมมัด บินยูสุฟ อัส ซอลิฮี อัชชามี  กล่าวว่า

فأتى جبريل رسول الله صلى الله عليه وسلم فقال: لا تبت هذه الليلة على فراشك الذي كنت تبيت عليه، وأخبره بمكر القوم وإذن الله تعالى له بالخروج.
فلما كانت العتمة من الليل اجتمعوا على بابه يرصدونه متى ينام فيثبون عليه، فلما رأى رسول الله صلى الله عليه وسلم مكانهم قال لعلي بن أبي طالب نم على فراشي
سبل الهدى والرشاد في سيرة خير العباد - (ج 3 / ص 232
المؤلف : محمد بن يوسف الصالحي الشامي

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูสุบุลุลฮุดา วัลร่อชาด  เล่ม 3 : 232


11 - อบู เราะบี๊อฺ อัลอันดุลิซี กล่าวว่า

فتفرق القوم على ذلك وهم مجمعون له
فأتي جبريل رسول الله {صلى الله عليه وسلم} فقال لا تبت هذه الليلة على فراشك الذي كنت تبيت عليه
فلما كانت عتمة من الليل اجتمعوا على بابه يرصدونه حتى ينام فيثبون عليه فلما رأى رسول الله {صلى الله عليه وسلم} مكانهم قال لعلي بن أبي طالب نم على فراشي
الاكتفاء بما تضمنه من مغازي رسول الله والثلاثة الخلفاء - (ج 1 / ص 259
المؤلف أبو الربيع سليمان بن موسى الكلاعي الأندلسي

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูอัลอิกติฟาอ์ บิมาตะดอมมะนะฮู มินมะฆอซี รอซูลิลละฮ์ วะษะลาษะฮ์คุละฟาอ์  เล่ม 1 : 259


12 - อิบนุล อะษีร กล่าวว่า

فأتى جبرائيل النبي، صلى الله عليه وسلم، فقال: لا تبت الليلة على فراشك. فلما كان العتمة اجتمعوا على بابه يرصدونه متى ينام فيثبون عليه، فلما رآهم رسول الله، صلى الله عليه وسلم، قال لعلي بن أبي طالب: نم على فراشي
الكامل في التاريخ - (ج 1 / ص 276  المؤلف : ابن الأثير

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูอัลกามิล ฟิต ตารีค  เล่ม 1 : 276


13 - อิบนุลเญาซี กล่าวว่า


فتفرق القوم على ذلك وهم مجتمعون له، فأتى جبريل عليه السلام النبي صلى الله عليه وسلم فقال: لا تبِتْ هذه الليلة على فراشك الذي كنت تبيت عليه. فلمَا كانت العَتْمة، اجتمعوا على بابه ثم ترصَدوه متى ينام فيثبون عليه: فلما رأى رسول الله صلى الله عليه وسلم مكانهم، قال لعلي بن أبي طالب رضي الله عنه، \\\" نمْ على فراشي
المنتظم - (ج 1 / ص 276  المؤلف : ابن الجوزي

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูอัลมุนตะซิม  เล่ม 1 : 276


14 - อิบนุ ญะรีร อัฏฏ็อบรี กล่าวว่า


فتفرق القوم على ذلك وهم مجمعون له، فأتى جبريل رسول الله صلى الله عليه وسلم، فقال : لا تبت هذه الليلة على فراشك الذي كنت تبيت عليه ! قال : فلما كان العتمة من الليل، اجتمعوا على بابه فترصدوه متى ينام ، فيثبون عليه. فلما رأى رسول الله صلى الله عليه وسلم مكانهم، قال لعلي بن أبي طالب: نم على فراشي
تاريخ الرسل والملوك (تاريخ الطبري) - (ج 1 / ص 420

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูตารีคฏ็อบรี  เล่ม 1 : 420



15 - อิบนุลมุเฏาะฮัร กล่าวว่า



فتفرقوا على هذا وجمعوا من فتيان قريش أربعين شابا وأعطوهم السيوف وأمروهم أن يغتالوا النبي صلعم ويقتلوه، ذكر ليلة الدار قالوا فأتوا داره وأحاطوا به يرصدونه حتى ينام فيبيتون به وأتاه الخبر من السماء فثبت حتى أمسى ثم اضطجع على فراشه وتجلل ريطة له خضراء والرصد يرون ما صنعه ويترقبون نومه فدعا عليا وقال نم على فراشي
البدء والتاريخ - (ج 1 / ص 236
المؤلف : ابن المطهر

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูอัลบัดอุ วัลตารีค  เล่ม 1 : 236


16-  อัชชิบลี กล่าวว่า

فأتى جبريل رسول الله - صلى الله عليه وسلم - فقال لا تبيت الليلة على فراشك الذي كنت تبيت عليه قال فلما كانت عتمة من الليل اجتمعوا على بابه يرصدونه حتى ينام فيثبوا عليه فلما رأى رسول الله - صلى الله عليه وسلم - مكانهم قال لعلي بن أبي طالب نم على فراشي
آكام المرجان فى احكام الجان للشبلي - (ج 1 / ص 267

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูอากามุลมัรญาน ฟีอะห์กามิลญาน   เล่ม 1 : 267


17- ชัมซุดดีน อบุลบะร่อกาต อัชชาฟิอี กล่าวว่า


فأتى جبرئيل النبي صلى الله عليه وسلم فقال: لا تبيت الليلة على فراشك الذي تبيت عليه. فلما كان العتمة من الليل اجتمعوا على بابه يرصدونه متى ينام فيثبون عليه فلما رآى رسول الله صلى الله عليه وسلم مكانهم قال لعلي: نم على فراشي
جواهر المطالب في مناقب الإمام علي (ع) - (ج 1 / ص 240
المؤلف : شمس الدين ابي البركات محمد بن احمد الدمشقي الباعوني الشافعي

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูญะวาฮิรุลมะตอลิบ    เล่ม 1 : 240


18- อบูนุอัยมฺ อัศบะฮานี กล่าวว่า


فأتاه جبريل فقال : لا تبت هذه الليلة على فراشك الذي كنت تبيت عليه فلما كان عتمة من الليل اجتمعوا على بابه يرصدونه (3) حتى ينام فيثبون عليه فلما رأى رسول الله صلى الله عليه وسلم مكانهم قال لعلي : نم على فراشي
دلائل النبوة لأبي نعيم الأصبهاني - (ج 1 / ص 175

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูดะลาอิลุน นุบูวะฮ์   เล่ม 1 : 175


19 - อัลอิศอมี กล่าวว่า

فلما رأى رسول الله صلى الله عليه وسلم اجتماعهم ومكانهم قال لعلي: نم على فراشي
سمط النجوم العوالي في أنباء الأوائل والتوالي - (ج 1 / ص 145

เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูซัมตุน นุญูมิล อะวาลี   เล่ม 1 : 145


20 - มุฮิบบุต ต็อบรี กล่าวว่า



فأتى جبريل عليه السلام النبي صلى الله عليه وسلم فقال: لا تبت هذه الليلة على فراشك الذي كنت تبيت عليه قال فلما كانت عتمة من الليل اجتمعوا على بابه يرصدونه متى ينام فيثبون عليه فلما رأى رسول الله صلى الله عليه وسلم مكانهم قال لعلي نم على فراشي
الرياض النضرة في مناقب العشرة - (ج 1 / ص 272

ท่านญิบรีล อะลัยฮิสลามได้มาหาท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ) ท่านกล่าวว่า จงอย่านอนบนที่นอนของท่านในคืนนี้ ที่ๆท่านเคยนอนเป็นประจำ  พอค่ำลง  พวกเขา(มุชริก)ได้รวมกันอยู่ตรงประตูบ้านท่าน(ศ)  พวกเขาเฝ้ารอดูว่า ท่าน(ศ)จะเข้านอนเมื่อไหร่ พวกเขาก็จะบุกเข้าหาท่านทันที   เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้เห็นสถานที่ของพวกเขาแล้ว   ท่านได้กล่าวกับท่านอะลี บินอบีตอลิบว่า  ท่านจงนอนบนที่นอนของฉันที
ดูดะลาอิลุน นุบูวะฮ์   เล่ม 1 : 272


นักวิชาการซุนนี่  20 ท่าน ได้บันทึกว่า  ในคืนที่ท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)ฮิจเราะฮ์นั้น  ท่าน(ศ)ได้บอกให้ท่านอะลี นอนบนที่นอนของท่าน  และท่านอะลีก็ยอมนอนบนที่นอนของท่าน เพื่อปกป้องชีวิตท่านนบี(ศ)จริง

หากท่านใดไม่ยอมรับเรื่องนี้ว่าเป็นจริง  เท่ากับเขาได้ปฏิเสธคำพูดจากอุละมาอ์ของพวกเขาเอง
และเขาก็คือหนึ่งจากบรรดาผู้ที่อิจฉาท่านอะลี เหมือนคนเก้ากลุ่มที่มาด่าทอท่านอะลีกับท่านอิบนุอับบาส

ด้วยเหตุนี้ท่านอิบนุอับบาสจึงยอมรับว่า  การเสียสละชีวิตของท่านอะลีครั้งนี้คือ ฟะดีลัตประการหนึ่ง  

 
  •  

L-umar



ฟะดีลัตที่  เจ็ด



ท่านอิบนุอับบาสเล่าว่า :

ท่านศาสดามุฮัมมัด(ศ)ได้กล่าวกับท่านอะลีว่า

أَنْتَ مِنِّي بِمَنْزِلَةِ هَارُونَ مِنْ مُوسَى إِلاَّ أَنَّهُ نَبِيَّ بَعْدِي

ท่านกับฉัน มีสถานะดั่งมูซากับฮารูน  นอกจากว่า ไม่มีนบีหลังจากฉันเท่านั้น

ดูมะอานี อัลอัคบาร  โดยเชคศอดูก  เล่ม 1 : 82 หะดีษ 1



สะนัดและมะตั่นหะดีษโดยสมบูรณ์มีดังนี้



حَدَّثَنَا الْحَسَنُ بْنُ محمد بن سعيد الهاشمي بالكوفة، قال: حَدَّثَنَا فُرَاتُ بْنُ إبراهيم بن فرات الكوفي، قال حَدَّثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ عَلِيِّ بن معمر، قال: حَدَّثَنَا أَحْمَد بْن علي الرملي، قال: حَدَّثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ مُوسَى ، قال: حَدَّثَنَا يَعْقُوبُ بْنُ إِسْحَاقَ المروزي، قال: حَدَّثَنَا عَمْرُو بْنُ منصور، قال : حَدَّثَنَا إِسْمَاعِيلُ بْنُ أَبَانَ ، عَنْ يَحْيَى بْنِ كَثِيرٍ ، عَنْ أَبِيهِ ، عَنْ أَبِي هَارُونَ الْعَبْدِيِّ (عُمَارة بن جُوَين)، قاَلَ : سَأَلْتُ جَابِرَ بْنَ عَبْدِ اللَّهِ الْأَنْصَارِيَّ عَنْ مَعْنَى قَوْلِ النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وآلِهِ وَسَلَّمَ لِعَلِيٍّ :

أَنْتَ مِنِّي بِمَنْزِلَةِ هَارُونَ مِنْ مُوسَى إِلاَّ أَنَّهُ نَبِيَّ بَعْدِي  
قاَلَ : اسْتَخْلَفَهُ بِذَلِكَ وَاللهِ عِلَى اُمَّتِهِ فِيْ حَياَتِهِ وَبَعْدَ وَفاَتِهِ وَفَرَضَ عَلَيْهِمْ طاَعَتَهُ

كتاب : مَعاَنِي الْاَخْباَرِ لِلشَّيْخِ الصَّدُوْق  ج 93 ص 1 ح 1

คำแปล

อบูฮารูน อัลอับดีเล่าว่า : ฉันได้ถามท่านญาบิร บินอับดุลลอฮ์ อัลอันศอรีถึงความหมายคำพูดของท่านนบี(ศ)ที่กล่าวกับท่านอะลีว่า :

أَنْتَ مِنِّي بِمَنْزِلَةِ هَارُونَ مِنْ مُوسَى إِلاَّ أَنَّهُ نَبِيَّ بَعْدِي

ท่านกับฉัน มีสถานะดั่งมูซากับฮารูน  นอกจากว่าไม่มีนบีหลังจากฉันเท่านั้น

ท่านญาบิร บินอับดุลลอฮ์ กล่าวว่า : ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ว่า ท่านนบี(ศ)ได้แต่งตั้งเขาเป็นคอลีฟะฮ์ไว้บนอุมมะฮ์ของท่านในตอนที่ท่านมีชีวิต และหลังจากท่านวะฟาต และท่านได้กำหนดต่อพวกเขาว่า ต้องเชื่อฟังเขา(อะลี)

ดูมะอานี อัลอัคบาร  โดยเชคศอดูก  เล่ม 1 : 82 หะดีษ 1



ชะเราะห์ความหมาย

รากฐานการเชิญชวนประชาชนสู่พระผู้เป็นเจ้าองค์เดียว  เราต่างทราบดีว่าอุศูล(รากฐาน)นี้คือ ผู้เชิญชวนจะต้องมีอิลมู(วิชา,ความรู้)ที่เชี่ยวชาญเป็นพิเศษต่อภาวะความเป็นพระเจ้าของอัลเลาะฮ์ (มะอ์ริฟะตุลลอฮ์)  ซึ่งถือว่าอิลมูนี้คือสุดยอดแห่งศาสตร์ทั้งหลาย
เพราะการมะอ์ริฟะตุลลอฮ์คือ ศาสตร์อันประเสริฐสุด ซึ่งไม่มีศาสตร์ใดจะเลอเลิศมากไปกว่านี้อีกแล้ว

อิลมู(ศาสตร์)นี้ย่อมมิอาจถ่ายทอดเคล็ดลับสุดยอด(อัสรอร)ของมันให้กับคนธรรมทั่วไปได้ นอกจากผู้ที่มีความเหมาะสมกับมันจริงๆเท่านั้น

ด้วยเหตุนี้อัลลอฮ์ ตะอาลาจึงทรงคัดเลือกท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)ให้เป็นศาสดาคนสุดท้ายของโลก  เพื่อทำหน้าที่อธิบายศาสตร์สุดยอดนี้  และท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)ได้มอบอิลมู(ความรู้)นี้ไว้กับท่านอะลีและอะฮ์ลุลบัยของเขา
เพื่อพวกเขาจะได้พิทักษ์รักษาดีน(ศาสนาอิสลามอันบริสุทธิ์)ให้พ้นจากพวกมุนาฟิก  บรรดาปุโรหิตยิวและคริสต์ และบรรดานักวิชาการโฉดทั้งหลาย

เราพบว่า คัมภีร์เตารอตในยุคปัจจุบัน บันทึกว่า  นบีมูซาได้มอบอิลมู(ศาสตร์)ที่ว่านี้เอาไว้กับนบีฮารูนและบุตรชายทั้งหลายของเขา  โดยนบีมูซามิได้มอบความรู้นี้ให้กับผู้ใด อื่นจากเขาเหล่านี้เลย

ฉะนั้นนบีฮารูนและบุตรชายทั้งหลายของเขาเท่านั้น ที่สามารถทำหน้าที่อรรถาธิบายพระบัญญัตศาสนาด้วยความเชี่ยวชาญแก่ประชาชาติ  ดูพระคัมภีร์ไบเลิล  บทที่ชื่อ เลวีนิติ   9 :1    

ต่อมาเมื่อพวกบนีอิสรออีลได้ละเมิดฝ่าฝืนต่อนบีฮารูนและบุตรชายทั้งหลายของเขา (ซึ่งอยู่ในฐานะรอซิคูนฟิลอิลมิ - ผู้มั่นคงเชี่ยวชาญต่อชะรีอัตของโมเสส) พวกเขาจึงหลงทางและทำให้คนอื่นหลง

อัลอิสลาม ดีนสุดท้ายของโลกก็ดูท่าจะไม่แตกต่างไปจากกฏเกณฑ์ดังกล่าวเท่าไหร่นัก
เพราะนบีมูซาได้เชิญชวนผู้คนสู่พระเจ้าองค์เดียว ส่วนนบีมุฮัมมัด(ศ)ก็ได้เชิญชวนผู้คนสู่พระเจ้าองค์เดียวเช่นกัน  จึงเป็นการดะอ์วะฮ์อันเดียวกัน


ท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)ได้กล่าวกับท่านอะลีหลายครั้งว่า


أَمَا تَرْضَى أَنْ تَكُونَ مِنِّي بِمَنْزِلَةِ هَارُونَ مِنْ مُوسَى إِلَّا أَنَّكَ لَسْتَ بِنَبِيٍّ إِنَّهُ لَا يَنْبَغِي أَنْ أَذْهَبَ إِلَّا وَأَنْتَ خَلِيفَتِي قَالَ وَقَالَ لَهُ رَسُولُ اللَّهِ أَنْتَ وَلِيِّي فِي كُلِّ مُؤْمِنٍ بَعْدِي

ท่านไม่พอใจดอกหรือที่ท่านกับฉัน มีฐานะเหมือนนบีมูซากับนบีฮารูน ยกเว้นว่าท่านไม่ใช่นบีเท่านั้น เพราะไม่สมควรที่ฉันจะไป ยกเว้นว่า ท่านจะต้องเป็นคอลีฟะฮ์ตัวแทนของฉัน  และท่านรอซูล(ศ)ยังได้กล่าวกับท่านอะลีว่า  ท่านคือวะลีของฉันในมุอ์มินทุกคน ภายหลังจากฉัน

ดูมุสนัดอะหมัด หะดีษ 2903

อัลมุสตัดร็อก  หะดีษ 4627 ซึ่งท่านซะฮะบีรับรองว่า เศาะหิ๊หฺ




เชคอัลบานี รับรองว่าสายรายงานหะดีษนี้ ฮาซัน คือ


ثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ الْمُثَنَّى حَدَّثَنَا يَحْيَى بْنُ حَمَّادٍ عَنْ أَبِي عَوَانَةَ عَنْ يَحْيَى ابْنِ سُلَيْمٍ أَبِي بَلْجٍ عَنْ عَمْرِو بْنِ مَيْمُونٍ عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ قَالَ قَالَ رَسُولُ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ لِعَلِيٍّ
 أَنْتَ مِنِّي بِمَنْزِلَةِ هَارُونَ مِنْ مُوسَى إِلَّا أَنَّكَ لَسْتَ بِنَبِيٍّ إِنَّهُ لَا يَنْبَغِي أَنْ أَذْهَبَ إِلَّا وَأَنْتَ خَلِيفَتِي فِي كُلِّ مُؤْمِنٍ بَعْدِي
الكتاب : ظلال الجنة في تخريج السنة لابن أبي عاصم  ج 2 ص 337 ح 1188
المؤلف : محمد ناصر الدين الألباني    نوع الحديث : حسن

มุฮัมมัด บินอัลมุษันนาเล่าให้เราฟัง  ยะห์ยา บินหัมม๊าดเล่าให้เราฟัง  จากอบูอิวานะฮ์ จากยะห์ยา อิบนิสุลัยม์ อบีบัลญิน จากอัมรู บินมัยมูน จากอิบนิอับบาสเล่าว่า  ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)กล่าวกับท่านอะลีว่า
ท่านกับฉัน มีสถานะดั่งมูซากับฮารูน  ยกเว้นว่าท่านไม่ได้เป็นนบีเท่านั้น  แท้จริงไม่สมควรที่ฉันจะไป ยกเว้นว่า ท่านคือคอลีฟะฮ์ของฉันในบรรดามุอ์มินทุกคน ภายหลังจากฉัน


สถานะหะดีษ  :  ฮาซัน

ดูซิลาลุลญันนะฮ์  ฟีตัครีญิส-สุนนะฮ์ หะดีษที่  1188 ตรวจทานโดยเชคมุฮัมมัด นาศิรุดดีน อัลบานี




โปรดทราบด้วยว่า


ท่านอะลีมีส่วนสำคัญต่อการรบในสงครามต่างๆ   แต่ทำไมในสงครามตะบู๊ก ท่านนบี(ศ)ตัดสินใจให้ท่านอะลีอยู่รักษาการแทนท่านในมะดีนะฮ์  

นั่นย่อมแสดงว่า ท่านนบี(ศ)ต้องการให้ท่านอะลีอยู่ระวังหลังให้ท่าน เผื่อว่าพวกมุนาฟิกจะก่อความวุ่นวายขึ้นในนครมะดีนะฮ์ ท่านอะลีจะได้จัดการได้

ท่านนบี(ศ)คงไม่ได้แต่งตั้งท่านอะลีไว้ในนครมะดีนะฮ์ แค่ให้เป็นโต๊ะอิหม่ามนำนมาซบรรดาสตรีและเด็กๆอย่างที่คนเบาปัญญาคิดหรอก  

เพราะถ้าท่านนบี(ศ)ให้เขาอยู่เพื่อคอยนำนมาซจริงๆ ท่านนบี(ศ)คงให้ซอฮาบะฮ์สักคนหนึ่งทำหน้าที่นี้เหมือนที่ท่านเคยใช้ให้ท่านอับดุลเลาะฮ์ อิบนิอุมมิมักตูมเป็นโต๊ะอิหม่ามมาแล้ว ทั้งๆที่เขาตาบอด
เรื่องอะไรที่ท่านนบี(ศ)ต้องยอมเสียทหารมือดีในการรบไปหนึ่งคน

แต่อย่างว่า  พวกอคติต่อฟะดีลัตของท่านอะลีได้อธิบายหะดีษมันซิลัตนี้ว่า  ไม่มีอะไรก็แค่ท่านนบี(ศ)ต้องการให้ท่านอะลีอยู่เพื่อทำหน้าที่เป้นโต๊ะอิหม่ามนำนมาซให้กับสตรีและเด็กๆเท่านั้นเอง  

แต่ท่านญาบิร บินอับดุลลอฮ์ อัลอันศอรีมองว่า นี่คือการที่ท่านนบี(ศ)ได้แต่งตั้งเขาเป็นคอลีฟะฮ์ไว้บนประชาชาติของท่านในตอนที่ท่านมีชีวิต และหลังจากท่านวะฟาต และท่านได้กำหนดต่อพวกเขาว่า ต้องเชื่อฟังต่ออะลี


ด้วยเหตุนี้ท่านอิบนุอับบาส จึงนับว่าหะดีษนี้คือฟะดีลัตประการหนึ่งของท่านอะลี
  •  

L-umar


ฟะดีลัตที่ แปด  


ท่านอิบนุอับบาสเล่าว่า :


ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)กล่าวกับท่านอะลีว่า

أَنْتَ وَلِيِّي فِي كُلِّ مُؤْمِنٍ بَعْدِي

ท่านคือ " วะลี " ของฉันในบรรดามุอ์มินทุกคน ภายหลังจากฉัน


ดูมุสนัดอะหมัด  หะดีษ 2903  และอัลอะมาลี โดยเชคมุฟีด  เล่ม 1 : 110 หะดีษ 4  




หากเราแปลคำ วะลี  ว่า คนรัก  หะดีษจึงหมายถึงท่าน(ศ)กล่าวว่า  อะลีคือคนรักของฉัน และหลังจากฉันจากไป อะลีก็คือวะลีของบรรดามุอ์มินทุกคน    เราดูอีกหะดีษหนึ่ง ท่าน(ศ)กล่าวว่า


ممَا تُرِيدُونَ مِنْ عَلِىٍّ إِنَّ عَلِيًّا مِنِّى وَأَنَا مِنْهُ وَهُوَ وَلِىُّ كُلِّ مُؤْمِنٍ بَعْدِى

سنن الترمذى   ح : 4077 والسنن الكبرى للنسائي  ح : 8474 والمستدرك على الصحيحين للحاكم  ح : 4558
مسند أبي يعلى الموصلي  ح : 339 وصحيح ابن حبان  ح : 7055 و مصنف ابن أبي شيبة ح : 32121
السلسلة الصحيحة لمحمد ناصر الدين الألباني  ح : 2223


พวกเจ้าต้องการอะไรจากอะลีๆๆ แท้จริงอะลีมาจากฉันและฉันมาจากเขา และเขาคือวะลีของมุอ์มินทุกคน ภายหลังจากฉัน


ดูสุนันติรมิซี, สุนันกุบรอของนะซาอี,อัลมุสตัดร็อกของอัลฮากิม,มุสนัดอบียะอ์ลา,เศาะหิ๊หฺอิบนิฮิบบาน,มุศ็อนนัฟอิบนิอบีชัยบะฮ์และซิลซิละตุซ –ซ่อฮีฮะฮ์ ของอัลบานี หะดีษที่ 2223


สิ่งที่สำคัญที่หะดีษนี้ถูกท่านอิบนุอับบาสนับว่าเป็นฟะดีลัตประการหนึ่งมีสองประการคือคำว่า

1.   วะลี ( ولي ) คนรักของฉันและของมุอ์มิน
2.   บะอ์ดี (بعدي ) ภายหลังจากฉันจากไปแล้ว


เราทราบว่า  

อะลีคือคนที่ท่านนบี(ศ)รัก และขอให้มุอ์มินทุกคนให้ความรักต่ออะลี  และท่านนบี(ศ)ยังย้ำว่า แม้ว่าท่านจากโลกนี้ไปแล้ว มุอ์มินทั้งหลายยังจะต้องมอบความรักให้กับอะลี    ท่านลองย้อนไปมองดูประชาชาติมุสลิมหลงัท่านนบี(ศ)วะฟาตสิว่า พวกเขายังให้ความรักต่อท่านอะลีจริงหรือไม่  ป่าวเลย ทำไม ??? เพราะตลอดเวลาที่ผ่านมา  มุสลิมส่วนมากไม่เคยเข้าใจนิยามคำว่ารักตามทัศนะของอัลกุรอ่านเท่าไหร่นัก  

อัลลอฮ์ตะอาลาตรัสว่า

قُلْ إِنْ كُنْتُمْ تُحِبُّونَ اللَّهَ فَاتَّبِعُونِي يُحْبِبْكُمُ اللَّهُ

จงกล่าวเถิด ( มุฮัมมัด ) ว่า  หากพวกท่าน" รัก " อัลลอฮ์  ก็จง " ปฏิบัติตามฉัน "   อัลลอฮ์ก็จะทรงรักพวกท่าน
บท 3 : 31



หากพวกท่าน" รัก " รอซูลุลลอฮ์(ศ)จริง  ก็จง " ปฏิบัติตามอะลี "   อัลลอฮ์ก็จะทรงรักพวกท่าน

หากพวกท่าน" รัก " อะลีจริง  ก็จง " ปฏิบัติตามอะลีและแนวทางของเขา "   อัลลอฮ์ก็จะทรงรักพวกท่าน



แต่จะมีสักกี่คนที่เข้าใจนิยามคำว่า " รัก " ตามทัศนะของอัลลอฮ์และรอซูล

หรือเขาเข้าใจดี แต่มิได้นำพามาปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม.
  •  

L-umar


ฟะดีลัตที่ เก้า


ท่านอิบนุอับบาสเล่าว่า :


عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ أَنَّ رَسُولَ اللَّهِ (ص) أَمَرَ بِسَدِّ الأَبْوَابِ إِلاَّ بَابَ عَلِىٍّ.
صحيح الترمذي ج 3 ص 215 ح 2935


แท้จริงท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้สั่งให้ปิดประตูบ้านทุกหลัง(ที่เชื่อมไปสู่มัสญิด)  ยกเว้น ประตูบ้านอะลี


สถานะหะดีษ  : เศาะหิ๊หฺ

ดูซอฮีฮุต – ติรมิซี  หะดีษ 2935  ตรวจทานโดยเชคอัลบานี




ท่านอิบนุอับบาสยังเล่าว่า :  

ท่านอะลีจะผ่านเข้าไปในมัสญิดขณะที่มีญุนุบ  เพราะทางเข้าบ้านของเขาจำเป็นต้องผ่านมัสญิดก่อน ซึ่งไม่มีทางอื่นจากนี้



ท่านเซด บินอัรกอมเล่าว่า :


عَنْ زَيْدِ بْنِ أَرْقَمَ ، قَالَ : كَانَ لِنَفَرٍ مِنْ أَصْحَابِ رَسُولِ اللهِ (ص) ، أَبْوَابٌ شَارِعَةٌ فِي الْمَسْجِدِ ، قَالَ : فَقَالَ يَوْمًا : سُدُّوا هَذِهِ الأَبْوَابَ ، إِلاَّ بَابَ عَلِيٍّ ، قَالَ : فَتَكَلَّمَ فِي ذَلِكَ أُنَاسٌ ، قَالَ : فَقَامَ رَسُولُ اللهِ (ص) ، فَحَمِدَ اللهَ ، وَأَثْنَى عَلَيْهِ ، ثُمَّ قَالَ : أَمَّا بَعْدُ ، فَإِنِّي أَمَرْتُ بِسَدِّ هَذِهِ الأَبْوَابِ ، إِلاَّ بَابَ عَلِيٍّ ، وَقَالَ فِيهِ قَائِلُكُمْ ، وَإِنِّي وَاللهِ ، مَا سَدَدْتُ شَيْئًا وَلاَ فَتَحْتُهُ ، وَلَكِنِّي أُمِرْتُ بِشَيْءٍ فَاتَّبَعْتُهُ

قال الحاكم : « هذا حديث صحيح الإسناد ولم يخرجاه »
المستدرك على الصحيحين للحاكم  ج 10 ص 437 ح 4607
قال الذهبي : صحيح  انظر : المستدرك بتعليق الذهبي  ج 3 / ص 135 ح 4631


ปรากฏว่า สำหรับซอฮาบะฮ์กลุ่มหนึ่งของท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)นั้นมีประตูบ้านเป็นทาง(เชื่อมไปถึง)มัสญิด
แล้ววันหนึ่ง ท่านรอซูล(ศ)กล่าวว่า  :  พวกท่านจงปิดประตูเหล่านี้ให้หมด  ยกเว้นประตูบ้านอะลี

ท่านเซดเล่าว่า :  ผู้คนได้พูดคุยถึงเรื่องนั้นกัน   แล้วท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้ลุกขึ้นไป(หาพวกเขา) ท่านได้สรรเสริญและยกย่องอัลลอฮ์  ต่อจากนั้นท่านกล่าวว่า  : อัมมาบะอ์ดุ  

แท้จริงฉันได้สั่งให้ปิดประตูเหล่านี้  ยกเว้นประตูบ้านของอะลี   พวกท่านจึงได้กล่าวเกี่ยวกับเขา  ฉันขอสาบานต่ออัลลอฮ์ว่า ฉันไม่ได้ปิดสิ่งใดหรือเปิดมัน(เองตามใจ)  แต่ฉันถูกสั่งให้ทำสิ่งนั้น  ฉันจึงได้ปฏิบัติตามพระองค์



อัลฮากิม กล่าวว่า : เป็นหะดีษเศาะหิ๊หฺ  แต่ท่านเชคทั้งสองมิได้นำมันออกรายงาน
ดูอัลมุสตัดร็อก อะลัซ ซ่อฮีฮัยนิ  หะดีษ 4607

อัซ ซะฮะบี รับรองว่า  : เป็นหะดีษเศาะหิ๊หฺ
ดูอัลมุสตัดร็อก อะลัซ ซ่อฮีฮัยนิ  หะดีษ 4631 ฉบับตรวจทานโดยซะฮะบี




อิบนุหะญัรได้รับรองว่า หะดีษที่อัลฮากิมบันทึกไว้ข้างต้นนั้น นักรายงานทั้งหมดเชื่อถือได้ ดังนี้

قال ابن حجر : أَخْرَجَهُ أَحْمَد وَالنَّسَائِيّ وَالْحَاكِم وَرِجَاله ثِقَات
فتح الباري لابن حجر  ج 10 ص 451 ح 3381

อิบนุหะญัรกล่าวว่า  : หะดีษนี้ท่านอิหม่ามอะหมัด ท่านนะซาอีและท่านฮากิมได้นำออกรายงาน และบรรดานักรายงานหะดีษนี้  เชื่อถือได้  

ดูฟัตฮุลบารี เล่ม 10 : 451 หะดีษ 3381




ท่านลองหลับตาวาดภาพสิว่า   ขณะที่ประตูบ้านทุกหลังที่เชื่อมต่อไปยังมัสญิดมะดีนะฮ์ในวันนั้น ถูกท่านนบี(ศ)สั่งปิดหมดทุกบาน  หากพวกเขาจะเข้ามัสญิด ก็ให้เดินไปเข้าที่ประตูมัสญิด

แต่ประตูบ้านของท่านอะลีกลับได้รับการยกเว้น  แน่นอนคำสั่งนี้มิได้มาจากนัฟซูของท่านนบี(ศ)เอง แต่ท่านได้อธิบายกับบรรดาซอฮาบะฮ์ว่า มันคือบัญชาของอัลลอฮ์ ตะอาลาที่ทรงให้เกียรติแก่ท่านอะลี

แต่เกียรติที่อะลีได้รับนี้ กลายเป็นที่อิจฉาของคนรุ่นก่อนเก้ากลุ่มในอดีตจึงต้องเดินมาด่าว่าอะลีกับท่านอิบนุอับบาส
และกลายเป็นความอคติของคนรุ่นหลังที่พยายามกล่าวว่า หะดีษบทนี้พวกชีอะฮ์กุขึ้น หะดีษบทนี้มีสะนัดดออีฟ  และสุดท้ายหะดีษบทนี้เมาฎู๊อฺ


ด้วยเหตุนี้ ท่านอิบนุอับบาสจึงนับว่าเรื่องนี้คือฟะดีลัตประการหนึ่งของท่านอะลี
  •  

L-umar

  •  

56 ผู้มาเยือน, 0 ผู้ใช้