Welcome to Q4wahabi.com (Question for Wahabi). Please login or sign up.

ธันวาคม 23, 2024, 05:29:15 ก่อนเที่ยง

Login with username, password and session length
สมาชิก
  • สมาชิกทั้งหมด: 1,718
  • Latest: Haroldsmolo
Stats
  • กระทู้ทั้งหมด: 3,703
  • หัวข้อทั้งหมด: 778
  • Online today: 72
  • Online ever: 200
  • (กันยายน 14, 2024, 01:02:03 ก่อนเที่ยง)
ผู้ใช้ออนไลน์
Users: 0
Guests: 28
Total: 28

หนึ่งวัน หนึ่งอายัต 4

เริ่มโดย L-umar, สิงหาคม 24, 2009, 05:33:02 หลังเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

0 สมาชิก และ 1 ผู้มาเยือน กำลังดูหัวข้อนี้

L-umar


หนึ่งวัน หนึ่งอายัต 4


อัลเลาะฮ์  ญัลละ ญะลาล๊ะฮฺ ทรงตรัสว่า


سَلاَمٌ عَلَى آل يَاسِينَ

สันติจงมีแด่ วงศ์วานของยาซีน



บทที่ 37 : 130


อิลยาซีน บาง กิระอะฮ์อ่านว่า   อาลิ ยาซีน



อัลลอฮฺ ตะอาลาทรงประทาน " ซะลาม -  ศานติ " แก่บรรดานบีไว้เช่น


سَلَامٌ عَلَى نُوحٍ فِي الْعَالَمِينَ
สันติจงมีแด่  นู๊หฺ
บทที่ 37 : 79

سَلَامٌ عَلَى إِبْرَاهِيمَ

สันติจงมีแด่  อิบรอฮีม
บทที่ 37 : 109
سَلَامٌ عَلَى مُوسَى وَهَارُونَ
สันติจงมีแด่  มูซาและฮารูน
บทที่ 37 : 120


อาลิ ยาซีน คือใคร ?
  •  

L-umar



อาลิยาซีนคือ  อาลิมุฮัมมัด  แปลว่า วงศ์วานของมุฮัมมัด


อัฏ-ฏ็อบรอนี บันทึกว่า


حَدَّثَنَا عَبْدُ الرَّحْمَنِ بْنُ الْحُسَيْنُ الصابوني التُّسْتَرِيُّ ثنا عَبَّادُ بْنُ يَعْقُوبَ ثنا مُوسَى بْنُ عُمَيْرٍ عَنِ الْأَعْمَشِ
عَنْ مُجَاهِدٍ عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ: { سلام على إل ياسين } قال : نحن آل محمد صلى الله عليه و سلم
الكتاب : المعجم الكبير   ح  11064
المؤلف : سليمان بن أحمد بن أيوب أبو القاسم الطبراني

ได้เล่าให้เราฟัง อับดุลเราะหฺมาน บินอัลฮูเซน อัศศอบูนี อัต-ตุสตะรี เล่าให้เราฟัง อับบ๊าด บินยะอ์กูบได้เล่าให้เราฟัง มูซาบินอุมัยรินเล่าให้เราฟัง จากอัลอะอ์มัช จากมุญาฮิด จากอิบนิอับบาส  ( สะลามุน อะละ อิลยาซีน )  เขากล่าวว่า  พวกเราคือ อาลิมุฮัมมัด (ศ)


อ้างอิงจากมุอ์ญัมกะบีร หะดีษที่ 11064
  •  

L-umar



นักตัฟสีรได้อธิบายว่า คือ ท่านอิลยาส  และนักตัฟสีรอีกส่วนหนึ่งได้อธิบายไว้ดังนี้


อิบนุอับบาส อธิบายว่า

{ سَلاَمٌ } منا سعادةً وسلامة { على إِلْ يَاسِينَ } على آل محمد عليه الصلاة والسلام
تنوير المقباس - (ج 1 / ص 470)
( สะลามุน ) จากเรา คือ ความสุขและสันติ (อะลา อิลยาซีน ) คือ จงมีแก่อาลิมุฮัมมัด (อ)

ตัฟสีรอิบนิอับบาส( ตันวีรุลมิกบาส) เล่ม 1 : 470


มุกอติล รายงานว่า

قال الفراء عن حيان الكلبى : إل ياسين يعنى به النبى صلى الله عليه وسلم ، فإذا قال سلام على إل ياسين ، فالمعنى سلام على آل محمد صلى الله عليه وسلم ،
تفسير مقاتل - (ج 3 / ص 146)

อัลฟัรรออ์กล่าวว่า จากหัยยานอัลกัลป์บี : อิลยาซีน ในที่นี้หมายถึง ท่านนบี(ศ) เมื่ออัลลอฮฺ(ซบ.)ตรัสว่า สะลามุน อะลา อิลยาซีน เพราะฉะนั้นจึงหมายความว่า สะลามุน อะลา อาลิมุฮัมมัด (ศ)

ตัฟสีรมุกอติล  เล่ม 3 : 146


อิบนุญะรีร อัฏ-ฏ็อบรี กล่าวว่า

سلام على آل ياسين\\\" . جاء التفسير في تفسير الكلبي : على آل ياسين : على آل محمد صلى الله عليه وسلم
تفسير الطبري - (ج 21 / ص 102)

สะลามุน อะลาอาลิยาซีน  ได้มีการอธิบายไว้ในตัฟสีรอัลกัลป์บีว่า "อะลา อาลิยาซีน " คือ อะลา อาลิมุฮัมมัด (ศ)

ตัฟสีรอัฏ-ฏ็อบรี เล่ม 21 : 102


อิบนิกะษีร กล่าวว่า

وآخرون: \\\" سَلامٌ عَلَى آلْ يَاسِينَ\\\" يعني: آل محمد صلى الله عليه وسلم.
تفسير ابن كثير - (ج 7 / ص 37
อีกส่วนหนึ่งกล่าวว่า ( สะลามุน อะลา อิลยาซีน )  หมายถึง อาลิ มุฮัมมัด (ศ)

ตัฟสีรอิบนิกะษีร เล่ม 7 : 37


ญะลาลุดดีน อัสสิยูตี รายงาน

وأخرج ابن أبي حاتم والطبراني وابن مردويه عن ابن عباس رضي الله عنهما في قوله { سلام على إل ياسين } قال : نحن آل محمد { إل ياسين } .
الدر المنثور - (ج 8 / ص 355

นำออกรายงานโดยอิบนิอบีหาติม , อัฏฏ็อบรอนี , อิบนิมุรดะวัยฮฺ จากอิบนิอับบาส ในพระดำรัสของพระองค์ ( สะลามุน อะลา อิลยาซีน )  เขากล่าวว่า  พวกเราคือ อาลิ มุอัมมัด ( อิลยาซีน )

ตัฟสีร อัด-ดุรรุลมันษูร โดย สิยูตี เล่ม 8 : 355


อัษ-ษะอ์ละบีกล่าวว่า

فمن قرأ آل ياسين بالمد، فإنه أراد آل محمد
الكشف والبيان ـ للثعلبى - (ج 11 / ص 344

ผู้ใดอ่าน(โองการนี้ว่า) อาลิยาซีน ด้วยมัด(คือออกเสียงยาว)  เพราะฉะนั้นเขาต้องการให้ความหมายว่าคือ อาลิมุฮัมมัด

ตัฟสีร อัลกัชฟุวัลบะยาน เล่ม 11 : 344


อัลอะลูซีกล่าวว่า

وقيل : ياسين فيها اسم لمحمد صلى الله عليه وسلم فآل ياسين آله عليه الصلاة والسلام ، أخرج ابن أبي حاتم . والطبراني . وابن مردويه عن ابن عباس أنه قال في { سلام على إِلْ يَاسِينَ } نحن آل محمد آل ياسين ،
تفسير الألوسي - (ج 17 / ص 231)

มีคนกล่าวว่า ยาซีน คือชื่อของ นบีมุฮัมมัด (ศ) เพราะฉะนั้น อาลิยาซีน คือ อาลิของมุฮัมมัด(อ)
และนำออกรายงานโดยอิบนิอบีหาติม , อัฏฏ็อบรอนี , อิบนิมุรดะวัยฮฺ จากอิบนิอับบาส ในพระดำรัสของพระองค์ ( สะลามุน อะลา อิลยาซีน )  เขากล่าวว่า  พวกเราคือ อาลิ มุอัมมัด ( อิลยาซีน )

ตัฟสีรอัลอะลูซี เล่ม 17 : 231


อิบนิอบีหาติมบันทึกว่า

عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ، رَضِيَ اللَّهُ عَنْهُمَا، فِي قَوْلِهِ:\\\" \\\" سَلامٌ عَلَى إِلْ يَاسِينَ \\\" ، قَالَ: نَحْنُ آلُ مُحَمَّدٍ  \\\" إِلْ يَاسِينَ \\\" \\\".
تفسير ابن أبي حاتم - (ج 12 / ص 111

จากอิบนิอับบาส ในพระดำรัสของพระองค์ ( สะลามุน อะลา อิลยาซีน )  เขากล่าวว่า  พวกเราคือ อาลิ มุฮัมมัด ( อิลยาซีน )

ตัฟสีรอิบนิอบีหาติม เล่ม  12 : 111


อัลรอซี กล่าวว่า

الثاني : ( آل ياسين ) آل محمد صلى الله عليه وسلم
تفسير الرازي - (ج 13 / ص 147)

สอง – (อาลิยาซีน) คือ อาลิมุฮัมมัด (ศ)

ตัฟสีรอัลรอซี เล่ม 13 : 147


อัลคอซิน กล่าวว่า

قرىء آل ياسين بالقطع قيل أراد آل محمد صلى الله عليه وسلم
تفسير الخازن - (ج 5 / ص 274)

อ่านว่า อาลิยาซีน กล่าวว่าความหมายคือ อาลิมุฮัมมัด(ศ)

ตัฟสีรอัลคอซิน เล่ม 5 : 274


อิบนุอะญีบะฮฺ กล่าวว่า

وقيل : آل ياسين هو نبينا محمد صلى الله عليه وسلم وأهله
البحر المديد - (ج 5 / ص 247

มีคนกล่าวว่า  อาลิยาซีน คือ นบีมุฮัมมัด (ศ) และครอบครัวของท่าน

ตัฟสีร อัลบะหฺรุลมะดีด  เล่ม 5 : 247


ชิฮาบุดดีน อัลมิศรี่ กล่าวว่า

ويقرأ سلام الله على آل ياسين أي على آل محمد
التبيان تفسير غريب القرآن - (ج 1 / ص 354
المؤلف : شهاب الدين أحمد بن محمد الهائم المصري

และอ่านว่า  สะลามุน อะลา อาลิยาซีน หมายถึง อะลา (แก่ ) อาลิมุฮัมมัด (วงศ์วานของมุฮัมมัด

ตัฟสีร อัต-ติบยาน เล่ม 1 : 354


อัส-สะมัรกอนดี กล่าวว่า

ومن قرأ { على إِلْ يَاسِينَ } يعني : محمداً صلى الله عليه وسلم ويقال : آل محمد
بحر العلوم للسمرقندي - (ج 3 / ص 500

ผู้ใดอ่านว่า ( อะลา อาลิยาซีน ) เขาก็หมายถึง มุฮัมมัด (ศ) และบ้างกล่าวว่าคือ อาลิมุฮัมมัด

ตัฟสีร บะหฺรุลอุลูม เล่ม 3 : 500


อัลก็อฏฏอน กล่าวว่า

فمن قرأ آل ياسين : يكون معناه آل محمد
تفسير القطان - (ج 3 / ص 154)

ผู้ใดอ่านว่า อาลิยาซีน ความหายของมันก็จะเป็น อาลิมุฮัมมัด

ตัฟสีรอัลก็อฏฏอน เล่ม 3 : 154


นิซอมุดดีน อันนัยซาบูรี กล่าวว่า

وقيل : آل ياسين آل محمد صلى الله عليه وسلم .
تفسير النيسابوري - (ج 6 / ص 358)

กล่าวกันว่า อาลิยาซีน  คือ อาลิมุฮัมมัด (ศ)

ตัฟสีรอัน-นัยซาบูรี เล่ม 6 : 358


อัลกุรตุบีกล่าวว่า

في قوله تعالى : { سلام على إل ياسين } [ الصافات : 130 ] أي على آل محمد
تفسير القرطبي - (ج 15 / ص 5)

ในพระดำรัสของพระองค์ ( สะลามุน อะลา อิลยาซีน ) นั้นหมายถึง  (สันติ)จงมีแด่ อาลิมุฮัมมัด

ตัฟสีรกุรตุบี  เล่ม 15 : 5


อิบนุลเญาซี อธิบายว่า

والثاني : أنهم آل محمد صلى الله عليه وسلم ، قاله الكلبي .
زاد المسير - (ج 5 / ص 219)

สอง – แท้จริงพวกเขาคือ อาลิมุฮัมมัด (ศ) อัลกัลป์บีกล่าวไว้เช่นนั้น

ตัฟสีรซาดุลมะสีร เล่ม 5 : 219
 

มุฮัมมัดอะลี อัช-เชากานีกล่าวว่า

ومنه قوله : { سلام على إِلْ يَاسِينَ } [ الصافات : 130 ] أي : على آل محمد
فتح القدير - (ج 6 / ص 150)

จากพระดำรัสของพระองค์ ( สะลามุน อะลา อิลยาซีน ) นั้นหมายถึง  (สันติ)จงมีแด่ อาลิมุฮัมมัด

ตัฟสีรฟัตฮุลเกาะดีร  เล่ม 6 : 150


บรรดามุฟัสสิรูน 20 ท่าน ตั้งแต่ระดับเศาะหาบะฮ์  ตาบิอีน จนมาถึงนักตัฟสีรผู้โด่งดังล้วนอธิบายคำว่า  

อิลยาซีน ในที่นี้ว่าหมายถึง  อาลิมุฮัมมัด คือ วงศ์วานของนบีมุฮัมมัด (อ)

 
  •  

L-umar


ดังที่ได้ทราบมาแล้วว่า บรรดานักตัฟสีร 20 ท่านได้อธิบายคำ  อาลิยาซีน ว่าคือ อาลิมุฮัมมัด  ซึ่งนับได้ว่า อัลลอฮ์ตะอาลาทรงยกย่องให้เกียรติแก่ท่านนบีมุฮัมมัดและวงศ์วานของท่านเป็นอย่างยิ่ง

ท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)ได้สอนวิธีซอละวาตที่ถูกต้องไปแล้ว กลับไปอ่านได้ที่

http://www.q4sunni.com/believe/index.php?option=com_kunena&Itemid=71&func=view&catid=2&id=832

และท่านนบี(ศ)ได้สอนวิธีให้สลามแก่อะฮ์ลุลบัยต์ของท่านไว้แล้วเช่นกัน กลับไปอ่านได้ที่

http://www.q4sunni.com/believe/index.php?option=com_kunena&Itemid=71&func=view&catid=2&id=825


โปรดทราบว่า การซอละวาตแก่ท่านนบี(ศ)และการให้สลามแก่อะฮ์ลุลบัยต์นบี คือ


ซุนนะตุลเลาะฮ์ และ  ซุนนะตุลเราะซูล
  •  

L-umar


ในคัมภีร์กุรอ่าน อัลลอฮ์ตะอาลาทรงให้สลามแก่บรรดานบี  แก่นบีมุฮัมมัด(ศ)และอะฮ์ลุลบัยต์นบี  ดังที่พระองค์ทรงรับสั่งต่อพวกเราให้กล่าวสลามและซอละวาตแก่พวกเขา

มาตรว่าบรรดานบีและบรรดาวะลีของอัลลอฮฺคือ คนตายที่ไม่อาจตอบสนองต่อสลามหรือซอละวาตจากพวกเรา แล้วจะมีประโยชน์อันใดเล่าที่อัลลอฮ์ทรงรับสั่งให้เรากระทำเช่นนั้น แน่นอนอัลลอฮฺทรงสูงส่งจากเรื่องไร้สาระ แต่พระองค์ทรงมีวิทยปัญญาอันลึกซึ้งต่อคำสั่งของพระองค์ในเรื่องซอละวาตและสลามนี้
 
จะเห็นได้ว่า อิสลามได้บัญญัติเรื่องซอละวาตและการให้สลามแก่ศาสดามุฮัมมัดและอาลิมุฮัมมัด(อ)เอาไว้ในการทำนมาซวาญิบและซุนนะฮ์  

 ซึ่งท้ายสุดของการนมาซ มุสลิมทุกคนถูกสั่งว่า  เขาจะต้องให้สลามเช่นนี้


السَّلَامُ عَلَيْكَ أَيُّهَا النَّبِيُّ وَرَحْمَةُ اللَّهِ وَبَرَكَاتُهُ

อัส-สะลามุ  อะลัยก่ะ อัยยุฮันนะบียุ  วะเราะหฺมะตุลลอฮิ วะบะเราะกาตุฮฺ



เศาะหิ๊หฺบุคอรี หะดีษที่ 831

อัลกาฟี เชคกุลัยนี เล่ม 3 : 428 หะดีษที่ 5205



แน่นอนเมื่อเราให้สลามแก่ท่านนบีมุฮัมมัด(ศ) และอะฮ์ลุลบัยต์ของท่าน พวกท่านจะต้องตอบรับสลามกลับมายังเรา เพราะมีรายงานว่า


قَالَ رَسُولُ اللَّهِ صلي الله عليه وآله :  السَّلَامُ تَطَوُّعٌ وَ الرَّدُّ فَرِيضَة

ท่านรอซูลุลลอฮฺ (ศ)กล่าวว่า :  การให้สลามคือซุนนะฮ์(อาสา) แต่การตอบรับเป็นฟัรฎู



สถานะหะดีษ : มุวัษษัก

ดูอัลกาฟี โดยเชคกุลัยนี  เล่ม 2 : 644 หะดีษที่ 1
  •  

L-umar


วิธีซอละวาตนบีของมัซฮับอะฮ์ลุสสุนนะฮ์


اللَّهُمَّ صَلِّ عَلَى مُحَمَّدٍ ، وَعَلَى آلِ مُحَمَّدٍ

อัลลอฮุมม่ะ ศ็อลลิ อะลามุฮัมมัด วะอะลา อาลิมุฮัมมัด


เศาะหิ๊หฺบุคอรี หะดีษที่ 3370


วิธีซอละวาตนบีของมัซฮับชีอะฮ์

اللَّهُمَّ صَلِّ عَلَى مُحَمَّدٍ ، وَعَلَى آلِ مُحَمَّدٍ

อัลลอฮุมม่ะ ศ็อลลิ อะลามุฮัมมัด วะอะลา อาลิมุฮัมมัด


วะซาอิลุชชีอะฮ์  เล่ม 14 : 159 หะดีษที่ 8265


วิธีให้สลามแก่อะฮ์ลุลบัยต์ ของมัซฮับอะฮ์ลุสสุนนะฮ์[/color


]السَّلاَمُ عَلَيْكُمْ يَا أَهْلَ بَيْتِ النُّبُوَّةِ

อัส-สะลามุ อะลัยกุม ยาอะฮ์ล่ะ บัยติน-นุบุวะฮ์



อัลมุอ์ญัมกะบีร โดยอัฏ-ฏ็อบรอนี เล่ม  3 : 58 หะดีษที่ 2676
มุสนัดอิบนิอบีชัยบะฮฺ หะดีษที่ 720
อัลมะตอลิบุลอาลียะฮ์ โดยอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานี หะดีษที่ 3780



วิธีให้สลามแก่อะฮ์ลุลบัยต์ของมัซฮับชีอะฮ์


السَّلاَمُ عَلَيْكُمْ يَا أَهْلَ بَيْتِ النُّبُوَّةِ

อัส-สะลามุ อะลัยกุม ยาอะฮ์ล่ะ บัยติน-นุบุวะฮ์



มันลา ยะห์ฎุรุฮุลฟะกีฮฺ โดยเชคศอดูก  เล่ม 1 หะดีษที่ 3213
  •  

L-umar


นอกจากวิธีให้สลามดังกล่าวแล้ว
ชีอะฮ์ผู้มีความรักต่อบรรดาอิม่ามแห่งอะฮ์ลุลบัยต์ ควรอ่านสะลามเมื่อเสร็จสิ้นจากการทำนมาซ ด้วยการให้สะลามดังนี้



السَّلَامُ عَلَيْكَ يَا رَسُولَ اللَّهِ  السَّلَامُ عَلَيْكَ يَا نَبِيَّ اللَّهِ  وَرَحْمَةُ اللَّهِ وَبَرَكَاتُهُ

السَّلَامُ عَلَيْكَ يَا أَمِيرَ الْمُؤْمِنِينَ  ياَ سَيِّدَ الْوَصِيّينَ

اَلسَّلامُ عَلَيْكِ يَا فاطِمَةُ الزَّهْرَاءُ سَيِّدَةُ نِساءِ الْعالَمينَ

اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يا حَسَنَ الْمَظْلُوْمُ وَابْنَ الْمَظْلُوْمِ

اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا حُسَيْنَ الشَّهِيْدُ وَابْنَ الشَّهِيْدِ

اَلسَّلامُ عَلَيْكُمْ جَمِيْعَ الشُّهَدَاءِ كَرْبَلاَءِ وَرَحْمَةُ اللَّهِ وَبَرَكَاتُهُ


اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا غَريبَ الْغُرَباءِ
 
اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا مُعينَ الْضُعَفاءِ وَ الْفُقَرَاءِ

اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا مُغِيْثَ الشِّيْـعَةِ وَالـزُّوَّارِ فِيْ يَوْمِ الْجَزَاءِ

اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا اَبَا الْحَسَـنِ عَلِيَّ بْنَ مُوسَى الرِّضَـا
 
وَعَلَى آبَائِكَ السَّـبْعَة وَاَبْنَائِكَ الْأَرْبَعَة  وَرَحْمَةُ اللَّهِ وَبَرَكَاتُهُ


اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا صَاحِبَ الْعَصْرِ وَالزَّمَانِ

اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا خَلِيْفَةَ الرَّحْمَانِ

اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا شَرِيْكَ الْقُرْآنِ

اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا كَـعْبَةَ الْاِيْمَانِ

اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا اِمَامَ الْاِنْسِ وَالْجَانِّ


عَجَّـلَ اللهُ تَعَالَى فَرَجَهُ وَ سَـهَّلَ اللهُ تَعَالَي مَجْرَجَهُ وَظُهُوْرَكَ وَرَحْمَةُ اللَّهِ وَبَرَكَاتُهُ
 


และนี่คือการให้สลามถึงบรรดาอิม่ามแห่งอะฮ์ลุลบัยต์นบี อะลัยฮิมุสสลาม



คำถามสำหรับวาฮาบี

วันหนึ่ง ท่านเคยให้สะลามสั้นๆว่า  \\\" อัสสะลามุอะลัยกุม ยาอะฮ์ลัลบัยตินนบี   \\\"  สักครั้งหนึ่งหรือไม่
  •  

28 ผู้มาเยือน, 0 ผู้ใช้