ข่าว:

SMF - Just Installed!

Main Menu
Menu

Show posts

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.

Show posts Menu

Messages - AdminSu

#16
เชคมุฮัมมัด บิน อับดุลวาฮาบ มีแนวคิดต่อบรรดามุสลิมอย่างไร
เชคสุลัยมาน บิน อับดุลวะฮาบ(พี่ชายของเชคมุฮัมมัด บินอับดุลวะฮาบ)ได้กล่าวถึงแนวคิดของพวกวาฮาบีว่า

แท้จริงวันนี้ผู้คนกำลังถูกทดสอบกับคนที่อ้างว่าปฎิบัติตามกิตาบและซุนนะห์ และเขาได้วิเคราะห์(บทบัญญัติศาสนา)มาจากความรู้ของทั้งสองสิ่งนั้น โดยเขาไม่สนใจผู้ที่มีความคิดเห็นไม่ตรงกับเขา และเมื่อท่านร้องขอจากเขาให้นำเสนอทัศนะของเขาบนอะฮ์ลุลอิลมิ เขาก็ไม่ทำ ยิ่งกว่านั้นเขาจะบังคับให้ผู้คนยึดถือคำพูดของเขาและความเข้าใจของเขา และผู้ใดที่ขัดแย้งกับเขา(เชคมุฮัมมัดบินอับดุลวะฮาบ) ตามทัศนะของเขา บุคคลนั้นเป็น กาเฟ็ร
หนังสือ อัศ–เศาะวาอิก อัลอิลาฮียะฮ์ ฟิล ร็อดดิ อะลัล วะฮาบียะฮ์ หน้าที่ 4
#17
คำสอนของนักวิชาการซาอุฯคือ มุสลิมทุกคนที่ไม่ดำเนินตามแนวทางชัยค์มุหัมมัด บินอับดุลวะฮาบ มุสลิมคนนั้นได้เดินอยู่บนทางของชาวนรก

@@@@@@@@@@

หลักฐาน หนังสือรวบรวมคำฟัตวาของชัยค์มุหัมมัด บินอับดุลวะฮาบ รวมทั้งนักวิชาการซาอุดิอารเบียจนปัจจุบันชื่อ กิตาบ อัดดุร็อร อัส สะนียะฮ์ เล่ม 14 หน้า 375 ได้กล่าวว่า

ولا ينبغي لأحد من الناس العدول عن طريقة آل الشيخ، رحمة الله عليهم، ومخالفة ما استمروا عليه في أصول الدين، فإنه الصراط المستقيم، الذي من حاد عنه فقد سلك طريق أصحاب الجحيم

ไม่สมควรแก่บุคคลใดจากมนุษย์ ที่จะหันเหออกจากแนวทางของลูกหลานชัยค์(มุหัมมัด บินอับดุลวะฮาบ) และขัดแย้งกับสิ่งที่เขา(ชัยค์มุหัมมัดบินอับดุลวะฮาบ)ดำเนินอยู่บนมันในเรื่องรากฐานศาสนา(อิสลาม) เพราะมันคือทางที่เที่ยงตรง ซึ่งบุคคลใดต่อต้านเขา(ชัยค์มุหัมมัดบินอับดุลวะฮาบ) เท่ากับเขา(คนนั้น)ได้ดำเนินบนเส้นทางของชาวนรกเสียแล้ว ---------------------------

เพราะคำสอนของผู้รู้ซาอุฯแบบนี้ใช่ไหม ที่ผู้ยึดถือแนวทางของชัยค์มุหัมมัด บินอับดุลวะฮาบ(เรียกว่า แนวทางวะฮาบีย์)จึง มองว่า มุสลิมกลุ่มอื่นๆบนโลกเป็น ชาวนรก
#18
อิมรอน บิน ฮุซ็อยน์

عَنْ عِمْرَانَ بْنِ حُصَيْنٍ قَالَ أُنْزِلَتْ آيَةُ الْمُتْعَةِ فِى كِتَابِ اللَّهِ فَفَعَلْنَاهَا مَعَ رَسُولِ اللَّهِ (ص) وَلَمْ يُنْزَلْ قُرْآنٌ يُحَرِّمُهُ ، وَلَمْ يَنْهَ عَنْهَا حَتَّى مَاتَ قَالَ رَجُلٌ بِرَأْيِهِ مَا شَاءَ
قاَلَ مُحَمَّدٌ : يُقاَلُ إِنَّهُ عُمَرُ 

อิมรอน บิน ฮุซ็อยน์ เล่าว่า  อายะฮ์มุตอะฮ์ถูกลงมาในคัมภีร์ของอัลลอฮ์  แล้วพวกเราได้ทำมันพร้อมกับท่านรอซูล(ศ) และอัลกุรอานไม่เคยลงมาสั่งฮะร่ามมันเลย และท่านรอซูลก็ไม่เคยสั่งห้ามมันด้วยจนท่านตาย มีชายคนหนึ่งได้พูดตามความคิดเห็นของเขาเองตามที่เขาต้องการ อัลบุคอรีกล่าวว่า เขาคือ ท่านอุมัร
ดูซอฮิฮ์บุคอรี  ฮะดีษที่  4518

คุณอาจแย้งว่า ซอฮิฮ์บุคอรีฮะดีษที่ 4518 ท่านอิมรอนอาจหมายถึง มุตอะฮ์ฮัจญ์ ขอตอบว่า

قَالَ عِمْرَانُ بْنُ حُصَيْنٍ نَزَلَتْ آيَةُ الْمُتْعَةِ فِى كِتَابِ اللَّهِ (يَعْنِى مُتْعَةَ الْحَجِّ) وَأَمَرَنَا بِهَا رَسُولُ اللَّهِ (ص) ثُمَّ لَمْ تَنْزِلْ آيَةٌ تَنْسَخُ آيَةَ مُتْعَةِ الْحَجِّ وَلَمْ يَنْهَ عَنْهَا رَسُولُ اللَّهِ (ص) حَتَّى مَاتَ. قَالَ رَجُلٌ بِرَأْيِهِ بَعْدُ مَا شَاءَ.

อิมรอน บิน ฮุซ็อยน์ เล่าว่า อายะฮ์เรื่องมุตอะฮ์ในคัมภีร์ของอัลลอฮ์ (หมายถึง มุตอะตุ้ลฮัจญ์)ได้ถูกประทานลงมา และท่านรอซูล(ศ)ก็สั่งให้พวกเราปฏิบัติ แล้วไม่มีอายะฮ์ใดถูกประทานลงมาเพื่อยกเลิกโองการเกี่ยวกับมุตอะตุ้ลฮัจญ์เลย และท่านรอซูล(ศ)ก็ไม่เคยห้ามการทำฮัจญ์แบบตะมัตตัวอ์จนท่านตาย ชายคนหนึ่งได้พูดตามความคิดของเขาหลังจากสิ่งที่ประสงค์
ซอฮิฮ์มุสลิม ฮะดีษที่ 2158

ในซอฮิฮ์มุสลิม ฮะดีษที่ 2158 ท่านอิมรอนบอกชัดแล้วว่า อัลลอฮ์รอซูลไม่ได้สั่งห้ามมุตอะฮ์ฮัจญ์
ดังนั้นดังในซอฮิฮ์บุคอรีฮะดีษที่ 4518 จะหมายถึงมุตอะฮ์ฮัจญ์ไม่ได้แน่นอน

ท่านฟัครุดดีน อัลรอซี ได้แสดงเหตุผลว่า นิกะห์มุตอะฮ์ คือสิ่งฮะล้าล

ท่านฟัครุดดีน อัลรอซี ได้กล่าวว่า

الحجة الثالثة * على جواز نكاح المتعة * ماروى أن عمر (رض) قال على المنبر:

หลักฐานที่สาม เรื่องอนุญาติให้นิกะห์มุตอะฮ์ได้ ได้มีรายงานว่า ท่านอุมัรได้ปราศรัยบนมิมบัรว่า

متعتان كانتا مشروعتين في عهد رسول الله صلى الله عليه وسلم، وأنا أنهي عنهما: متعة الحج، ومتعة النساء

มีสองมุตอะฮ์ที่เดิมเคยถูกตราไว้ในสมัยท่านรอซูล(ศ) และฉันคือคนสั่งห้ามมันทั้งสองเอง คือ มุตอะฮ์ฮัจญ์ กับมุตอะฮ์สตรี

وهذا منه تنصيص على أن متعة النكاح كانت موجودة في عهد رسول الله صلى الله عليه وسلم وقوله: وأنا أنهي عنهما.

นี่คือหลักฐานการระบุว่านิกะห์มุตอะฮ์นั้นเดิมเคยมีในสมัยท่านรอซูล(ศ) และคำพูดของเขา(อุมัร)คือและฉันคือคนสั่งห้ามมันทั้งสองเอง

يدل على أن رسول الله صلى الله عليه وسلم، ما نسخه، وإنما عمر هو الذي نسخه،

นั่นแสดงว่า ท่านรอซูล(ศ)มิได้ยกเลิกมัน แต่อุมัรคือคนที่สั่งยกเลิกมัน

وإذا ثبت هذا فنقول: هذا الكلام يدل على أن حل المتعة كان ثابتا في عهد الرسول صلى الله عليه وسلم،

เมื่อสิ่งนี้ได้พิสูจน์ยืนยัน เราขอกล่าวว่า คำพูดนี้บ่งบอกว่า การฮะล้าลของนิกะห์มุตอะฮ์นั้นเคยมีอยู่ในสมัยท่านรอซูล(ศ)

وأنه عليه السلام ما نسخه، وأنه ليس ناسخ إلا عمر، وإذا ثبت هذا وجب أن لا يصير منسوخا،

และท่านรอซูล(ศ)มิเคยยกเลิกมัน และไม่มีผู้ใดยกเลิกมันนอกจากท่านอุมัร และเมื่อนี่คือข้อพิสูจน์แล้ว ก็จำเป็นที่มันจะต้องไม่ถูกยกเลิก

لان ما كان ثابتا في زمن الرسول صلى الله عليه وسلم، وما نسخه الرسول، يمتنع أن يصير منسوخا بنسخ عمر.

เพราะสิ่งใดก็ตามที่เคยมีอยู่ในสมัยท่านรอซูล(ศ)และท่านรอซูลก็ไม่ได้ยกเลิกมัน มันจึงมิอาจจะเป็นสิ่งที่ถูกยกเลิกได้ด้วยการยกเลิกของท่านอุมัร

وهذا هو الحجة التي احتج بها عمران بن الحصين حيث قال: إن الله أنزل في المتعة آية، وما نسخه بآية اخرى، وأمرنا رسول الله صلى الله عليه وسلم بالمتعة، وما نهانا عنها.

นี่คือหลักฐานที่ท่านอิมรอน บินฮุศ็อยน์ ได้อาศัยนำมันในการอ้างอิงตามที่เขากล่าวว่า แท้จริงอัลลอฮ์ได้ประทานอายัตเกี่ยวกับนิกะห์มุตอะฮ์มาหนึ่งอายัต และมันไม่เคยถูกยกเลิกด้วยอายัตอื่น และท่านรอซูล(ศ)ได้สั่งพวกเราให้กระทำนิกะห์มุตอะฮ์ และท่านไม่เคยห้ามปรามพวกเรามิให้ทำนิกะห์มุตอะฮ์เลย

ثم قال رجل برأيه ما شاء. يرد أن عمر نهى عنها. فهذا جملة وجوه القائلين بجواز المتعة

จากนั้น มีชายคนหนึ่งเขาได้กล่าว(ยกเลิก) ด้วยความคิดของเขาเองตามที่เขาต้องการ ซึ่งมีรายงานว่า แท้จริงท่านอุมัรนั้นคือผู้สั่งยกเลิกนิกะห์มุตอะฮ์ นี่คือคำพูดส่วนหนึ่งของเหตุผลในแง่ของบรรดาผุ้ที่กล่าวว่า อนุญาตให้นิกะห์มุตอะฮ์ได้

อ้างอิงจาก
ตัฟซีร อัลกะบีร หรือกิตาบ มะฟาตีฮุลเฆบ ดูซูเราะฮ์ที่ 4 อายัตที่ 24 เล่ม 5 หน้า 158

التفسير الكبير أو مفاتيح الغيب المؤلف : فخر الدين الرازي

۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩

สี่ – อับดุลลอฮ์  อิบนิ มัสอู๊ด

8 - وروى عبد الله بن مسعود قال : " كنا نغزو مع رسول الله - ص - ليس معنا نساء ، قلنا ألا نستخصي ؟
فنهانا عن ذلك ، ثم رخص لنا أن ننكح المرأة بالثوب إلى أجل ، ثم قرأ
عبد الله :
" يا أيها الذين آمنوا لا تحرموا ما أحل الله لكم ولا
تعتدوا إن الله لا يحب المعتدين 5 : 87 " ( 1 ) .
أقول : إن قراءة عبد الله الاية صريحة في أن تحريم المتعة لم يكن من الله
ولا من رسوله ، وإنما هو أمر حدث بعد رسول الله صلى الله عليه وآله .
( 1 ) صحيح مسلم ج 4 ص 130 . انظر التعليقة رقم ( 7 ) لمعرفة تحريفها في البخاري .

เก้า

9 - وروى شعبة عن الحكم بن عيينة قال :
" سألته عن هذه الاية - آية المتعة - أمنسوخة هي ؟ قال لا . قال الحكم :
قال علي لولا أن عمر نهى عن المتعة مازنى إلا شقي " ( 2 ) . وروى القرطبي ذلك
عن عطاء عن ابن عباس ( 3 ) .
أقول : لعل المراد بالشقي - في هذه الرواية - هو ما فسر به هذا اللفظ
في رواية أبي هريرة ، قال : " قال رسول الله صلى الله عليه وآله : لا يدخل النار إلا شقي ،
قيل : ومن الشقي ؟ قال : الذي لا يعمل بطاعة ، ولا يترك لله معصية " ( 4 ) .
( 2 ) تفسير الطبري عند تفسيره الاية المباركة ج 5 ص 9 .
( 3 ) تفسير القرطبي ج 5 ص 130 .
( 4 ) مسند أحمد ج 2 ص 349 . ( * )

สิบ

10 - وروى عطاء قال :
" سمعت ابن عباس يقول : رحم الله عمر ، ما كانت المتعة إلا رحمة من الله  تعالى رحم الله بها أمة محمد - ص - ولولا نهيه لما احتاج إلى الزنا إلا شفا " ( 1 ) .
( 1 ) أحكام القرآن للجصاص ج 2 ص 147 . الشفا : القليل .

สิบเอ็ด

28319- عن سليمان بن يسار : أن أم عبد الله ابنة أبى خيثمة حدثته أن رجلا قدم من الشام فنزل عليها ، فقال إن العزبة قد اشتدت على فابغينى امرأة أتمتع معها ، قالت : فدللته على امرأة فشارطها فاشهدوا على ذلك عدولا ، فمكث معها ما شاء الله أن يمكث ، ثم إنه خرج ، فأخبر عن ذلك عمر بن الخطاب فأرسل إلى فسألنى : أحق ما حدثت قلت : نعم ، قال : فإذا قدم فآذنينى به ، فلما قدم أخبرته ، فأرسل إليه فقال : ما حملك على الذى فعلته قال : فعلته مع رسول الله  - صلى الله عليه وسلم -  ثم لم ينهنا عنه حتى قبضه الله ، ثم مع أبى بكر فلم ينهنا عنه حتى قبضه الله ، ثم معك فلم تحدث لنا فيه نهيا فقال عمر : أما والذى نفسى بيده لو كنت تقدمت فى نهى لرجمنك ، بينوا حتى يعرف النكاح من السفاح (ابن جرير) [كنز العمال 45726]

สิบสอง

وهنا إيراد آخر على السنة الذين أخذوا يقول عمر في مسألة متعة النساء
ما هو ؟
إن عمر، نهى عن (متعة النساء) وعن (متعة الحج) فما السبب في أن السنة يجوزون (متعة الحج) ولا يجوزون (متعة النساء
فإن كان قول عمر صحيحاً.. كان اللازم حرمة كلتا المتعتين
وإن كان قول عمر باطلاً .. كان اللازم حلية كلتا المتعتين

وكيف يصح ذلك ولم يحرم أبو بكر المتعة أيام خلافته ، ولم يحرمها عمر في
شطر كبير من أيامه ، وإنما حرمها في أواخر أمره .
ان ناسخ جواز المتعة الثابت بالكتاب والسنة هو الاجماع على تحريمها .
والجواب عن ذلك :
أن الاجماع لا حجية له إذا لم يكن كاشفا عن قول المعصوم وقد عرفت أن تحريم المتعة لم يكن في عهد النبي صلى الله عليه واله وسلم ولا بعده إلى مضي مدة من خلافة عمر ،
أفهل يجوز في حكم العقل أن يرفض كتاب الله وسنة نبيه بفتوى جماعة لم يعصموا
من الخطأ ؟ ولو صح ذلك لامكن نسخ جميع الاحكام التي نطق بها الكتاب ، أو
أثبتتها السنة القطعية ، ومعنى ذلك أن يلتزم بجواز نسخ وجوب الصلاة ، أو
الصيام ، أو الحج بآراء المجتهدين ، وهذا مما لا يرضى به مسلم .
أضف إلى ذلك : أن الاجماع لم يتم في مسألة تحريم المتعة ، وكيف يدعي
الاجماع على ذلك ، مع مخالفة جمع من المسلمين من أصحاب النبي صلى الله عليه واله وسلم ومن بعده
ولا سيما أن قول هؤلاء بجواز المتعة موافق لقول أهل البيت الذين أذهب الله عنهم
الرجس وطهرهم تطهيرا ، وإذن فلم يبقل إلا تحريم عمر .
ومن البين أن كتاب الله وسنة نبيه أحق بالاتباع من غيرهما ، ومن أجل
ذلك أفتى عبد الله بن عمر بالرخصة بالتمتع في الحج ، فقال له ناس :
" كيف تخالف أباك وقد نهى عن ذلك ، فقال لهم : ويلكم ألا تتقون . . . أفرسول الله صلى الله عليه واله وسلم أحق أن
تتبعوا سنته أم سنة عمر ؟ " ( 1 ) .
( 1 ) مسند أحمد ج 2 ص 95 .
وخلاصة ما تقدم : أن جميع ما تمسك به القائلون بالنسخ لا يصلح أن يكون
ناسخا لحكم الاية المباركة ، الذي ثبت - قطعا - تشريعه في الاسلام .
#19
เราขอให้ท่านมาพิจารณา ท่านอาลีได้คัดค้านท่านอุมัรเรื่องสั่งห้ามมุตอะฮ์สตรีในฮะดีษต่อไป...

เราควรทราบสาเหตุเสียก่อนว่า  ยุคที่ท่านอุมัรเป็นคอลีฟะฮ์ มีปัจจัยเหตุอะไรทำให้ท่านอุมัรออกคำสั่งห้ามทำมุตอะฮ์สตรี

ในซอฮิฮ์มุสลิม ฮะดีษที่ 3482  บันทึกว่า

حَدَّثَنَا عَبْدُ الرَّزَّاقِ أَخْبَرَنَا ابْنُ جُرَيْجٍ أَخْبَرَنِى أَبُو الزُّبَيْرِ قَالَ سَمِعْتُ جَابِرَ بْنَ عَبْدِ اللَّهِ يَقُولُ كُنَّا نَسْتَمْتِعُ بِالْقُبْضَةِ مِنَ التَّمْرِ وَالدَّقِيقِ الأَيَّامَ عَلَى عَهْدِ رَسُولِ اللَّهِ (ص) وَأَبِى بَكْرٍ حَتَّى نَهَى عَنْهُ عُمَرُ فِى شَأْنِ عَمْرِو بْنِ حُرَيْثٍ

1.อับดุลรอซซาก จาก 2. อิบนุญุเรจ จาก 3. อบูซูเบร เล่าว่า 4. เขาได้ยินท่านญาบิร บิน อับดุลลอฮ์ กล่าวว่า
พวกเราทำมุตอะฮ์สตรีด้วยอินทผลัมหรือแป้งกำมือหนึ่ง เป็นเวลาหลายวันในสมัยท่านรอซูล(ศ)และในสมัยท่านอบูบักรด้วย จนมาถึง(สมัย)ท่านอุมัรนั้นได้สั่งห้ามทำมัน เพราะเรื่องของท่านอัมรู บิน ฮุร็อยษ์

************

ซอฮิฮ์มุสลิมไม่ได้ให้รายละเอียดแก่เราว่า ท่านอัมรู บิน ฮุร็อยษ์ ได้ทำอะไร แต่เรามาพบหนังสืออัลมุศ็อนนัฟของอับดุลรอซซาก ได้ให้รายละเอียดไว้ดังนี้ 

۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩

ฮะดีษที่ - สอง

عَبْدُ الرَّزَّاقِ عَنِ بْنِ جُرَيْجٍ قَالَ أَخْبَرَنِي أَبُو الزُّبَيْرِ أَنَّهُ سَمِعَ جَابِرَ بْنَ عَبْدِ اللَّهِ يَقُولُ قَدِمَ عَمْرُو بْنُ حُرَيْثٍ مِنَ الْكُوْفَةِ فاَسْتَمْتَعَ بِمَوْلاَةٍ فَأُتِيَ بِهَا عُمَرُ وَهِيَ حُبْلَى فَسَأَلَهاَ فَقاَلَت اِسْتَمْتَعَ بِيْ عَمْرُو بْنُ حُرَيْثٍ فَسَأَلَهُ فَأَخْبَرَهُ بِذَلِكَ أَمْراً ظاَهِراً قَالَ فَهَلاَّ غَيْرُهاَ فَذَلِكَ حِيْنَ نَهَى عَنْهاَ قاَلَ بْنُ جُرَيْجٍ وَأَخْبَرَنِيْ مَنْ أَصْدَقُ أَنَّ عَلِياًّ قاَلَ بِالْكُوْفَةِ لَوْلاَ ماَ سَبَقَ مِنْ رَأْيِ عمر بن الخطاب لَأَمَرْتُ بِالْمُتْعَةِ ثُمَّ ماَ زَناَ إِلاَّ شَقِيٌّ

1.อับดุลรอซซาก จาก 2. อิบนุญุเรจ จาก 3. อบูซูเบร เล่าว่า 4. เขาได้ยินท่านญาบิร บิน อับดุลลอฮ์ กล่าวว่า
ท่านอัมรู บิน ฮุร็อยษ์ เข้ามาที่เมืองกูฟะฮ์ แล้วเขาได้ทำมุตอะฮ์กับสาวใช้คนหนึ่ง
แล้วนางถูกนำตัวมาพบคอลีฟะฮ์อุมัรในสภาพตั้งท้อง  ท่านอุมัรได้สอบถามนาง นางได้บอกว่า อัมรู บิน ฮุร็อยษ์ ได้ทำมุตอะฮ์กับฉัน
ท่านอุมัรจึงได้สอบถามกับอัมรู  ท่านอัมรูได้บอกกับท่านอุมัรว่า นั่นคือเรื่องที่ชัดเจน(คือจริง)
ท่านอุมัรจึงกล่าวว่า คนอื่นจากนางจะไม่มีอีกหรือ  ณ.บัดนั้นเองท่านอุมัรจึงสั่งห้ามทำมุตอะฮ์
ท่านอิบนิญุเรจกล่าวว่า 
เจ้าจงบอกฉันสิว่า ผู้พูดสัตย์จริงที่สุดคือใคร แท้จริงท่านอาลีได้กล่าวที่เมืองกูฟะฮ์ว่า

لَوْلاَ ماَ سَبَقَ مِنْ رَأْيِ عُمَرَ بْنِ الْخَطاَّبِ لَأَمَرْتُ بِالْمُتْعَةِ ثُمَّ ماَ زَناَ إِلاَّ شَقِيٌّ

ถ้าหาก ทัศนะของอุมัรไม่ผ่านไปก่อนแล้วละก้อ  ฉันจะสั่งให้ทำมุตอะฮ์สตรีต่อไปอย่างแน่นอน แล้วจากนั้นจะไม่มีใครจำเป็นต้องไปทำซีนา นอกจากคนเลวจริงๆ

สถานะฮะดีษ ซอฮิฮ์  ดู มุศศ็อนนัฟ อับดุลรอซซาก  ฮะดีษที่ 14029

۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩

ขอให้สังเกตุสารบบสายรายงานสี่คนนี้ให้ดี

************

عبد الرزاق ←عن بن جريج قال ←أخبرني أبو الزبير أنه سمع← جابر بن عبد الله

1.อับดุลรอซซาก  2. อิบนุญุเรจ  3. อะบู ซูเบร  4. ท่านญาบิร บิน อับดุลลอฮ์

************

1.1.ต่อจากนั้นขอให้ท่านอ่านสายรายงานฮะดีษซอฮิฮ์ดังต่อไปนี้

وَقَالَ أَبُو الزُّبَيْرِ عَنْ جَابِرٍ كُنَّا مَعَ النَّبِىِّ (ص) بِنَخْلٍ فَصَلَّى الْخَوْفَ

1. อะบู ซูเบร  2. ท่านญาบิร บิน อับดุลลอฮ์  เล่าว่า เราอยู่กับท่านนบี(ศ)ที่นัคลิน แล้วท่านได้นมาซ ซ่อลาตุลเคาฟ์    ดูซอฮิฮ์บุคอรี  ฮะดีษที่  4137

************

عَنِ ابْنِ جُرَيْجٍ قَالَ أَخْبَرَنِى أَبُو الزُّبَيْرِ أَنَّهُ سَمِعَ جَابِرَ بْنَ عَبْدِ اللَّهِ يَقُولُ سَمِعْتُ رَسُولَ اللَّهِ (ص)يَقُولُ بَيْنَ الرَّجُلِ وَبَيْنَ الشِّرْكِ وَالْكُفْرِ تَرْكُ الصَّلاَةِ

1. อิบนุญุเรจ  2. อะบู ซูเบร  3. ท่านญาบิร บิน อับดุลลอฮ์ เล่าว่า ฉันได้ยินท่านรอซูล(ศ) ชายคนหนึ่งจะอยู่ระหว่างการตั้งภาคีกับการกุโฟ้รนั้นคือ การละทิ้งนมาซ
ดูซอฮิฮ์มุสลิม  ฮะดีษที่  257

************

حَدَّثَنَا عَبْدُ الرَّزَّاقِ أَنْبَأَنَا ابْنُ جُرَيْجٍ حَدَّثَنِي أَبُو الزُّبَيْرِ أَنَّهُ سَمِعَ جَابِرَ بْنَ عَبْدِ اللَّهِ يَقُولُ أَخْبَرَنِي عُمَرُ بْنُ الْخَطَّابِ رَضِيَ اللَّهُ عَنْهُ أَنَّهُ سَمِعَ رَسُولَ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ يَقُولُ لَأُخْرِجَنَّ الْيَهُودَ وَالنَّصَارَى مِنْ جَزِيرَةِ الْعَرَبِ حَتَّى لَا أَدَعَ إِلَّا مُسْلِمًا
تعليق شعيب الأرنؤوط : إسناده صحيح على شرط مسلم رجاله ثقات رجال الشيخين غير أبي الزبير فمن رجال مسلم

1.อับดุลรอซซาก  2. อิบนุญุเรจ  3. อะบู ซูเบร  4. ท่านญาบิร บิน อับดุลลอฮ์
เล่าว่า
ท่านอุมัรเล่าว่า เขาได้ยินท่านรอซูล(ศ)กล่าวว่า  ฉันจะขอขับไล่พวกยะฮูดและนะซอรอออกจากญะซีเราะฮ์อาหรับ จนไม่ทิ้งให้เหลือไว้สักคน ยกเว้นมุสลิมเท่านั้น
เชคชุเอบ อัรนะอูฏีได้วิจารณ์ว่า
สายสืบของฮะดีษนี้ ซอฮิฮ์ บนเงื่อนไขของท่านมุสลิม นักรายงานของฮะดีษนี้เชื่อถือได้ทุกคน เป็นนักรายงานของเชคทั้งสอง(คือบุคอรีและมุสลิม)ยกเว้นอบูซูเบรเป็นนักรายงานของท่านมุสลิม
สถานะฮะดีษ ซอฮิฮ์ ดูมุสนัดอะหมัด  ฮะดีษที่ 201 ฉบับตรวจทานโดยเชคชุเอบ อัรนะอูฏี

************

จะเห็นได้ว่าระหว่าง ผู้เล่า(รอวีย์)ของซอฮิฮ์บุคอรี,ซอฮิฮ์มุสลิมและมุสนัดอะหมัด กับ ผู้เล่าฮะดีษในหนังสือมุศ็อนนัฟบทนี้ คือสายรายงานเดียวกันเลย

************

อับดุลรอซซาก บิน ฮัมมาม (เจ้าของหนังสืออัลมุศ็อนนัฟ) มรณะ ฮ.ศ. 126

************

อิบนิฮะญัร ได้วิจารณ์ว่า

عبد الرزاق بن همام بن نافع الحميري مولاهم أبو بكر الصنعاني أحد الأئمة الأعلام الحفاظ عن بن جريج وهشام عنه أحمد وإسحاق وابن المديني

อับดุลรอซซาก บินฮัมมาม บินนาฟิ๊อ์ อัลฮุมัยรี คืออิหม่ามผู้โด่งดังยิ่งคนหนึ่ง  เป็นนักท่องจำฮะดีษ เขารายงานจากท่านอิบนิญุเรจและท่านฮิช่าม  และผู้ที่รายงานฮะดีษจากอับดุลรอซซากคือ อิหม่ามอะหมัด, อิสฮากและอิบนุ อัลมะดีนี
ดูหนังสือ ลิซานุล มีซาน เล่ม 3 หน้า 221

อิหม่ามบุคอรีย์ ได้วิจารณ์ว่า

وقال البخاري : ما حدث عنه عبد الرزاق من كتابه فهو أصح

สิ่งใดที่ท่านอับดุลรอซซาก ได้รายงานมัน อันมาจากหนังสือของเขา(คืออัลมุศศ็อนนัฟ) มันคือสิ่งที่ถูกต้องที่สุด
ดูหนังสือ มีซานุล อิอ์ติดาล โดยอัซซะฮะบี  อันดับที่  5044

สรุปความได้ว่า

ФФФФФ

อัมรู บิน ฮุร็อยษ์ ได้ทำมุตอะฮ์กับสาวใช้คนหนึ่งที่เมืองกูฟะฮ์ ในยุคที่ท่านอุมัรเป็นคอลีฟะฮ์
เป็นสาเหตุทำให้ท่านอุมัรประกาศห้ามประชาชนทำมุตอะฮ์สตรี   ท่านอิบนิญุเรจได้เล่าว่า 

ท่านอิม่ามอาลี(อ) ได้กล่าวตำหนิท่านอุมัรเรื่องสั่งห้ามทำมุตอะฮ์สตรีว่า

( ถ้าหาก ทัศนะของอุมัรไม่ผ่านไปก่อนแล้วละก้อ  ฉันจะสั่งให้ทำมุตอะฮ์สตรีต่อไปอย่างแน่นอน แล้วจากนั้นจะไม่มีใครจำเป็นต้องไปทำซีนา นอกจากคนเลวจริงๆ )
#20
เวบไซต์มุรีด ได้กล่าวถึง ฮะดีษมุรซัล
หุก่มของหะดีษมุรสัล
นักวิชาการมีความเห็นเกี่ยวกับการนำหะดีษมุรสัลมาเป็นหลักฐานแตกต่างกันไป
ก.  นักวิชาการหะดีษส่วนใหญ่เห็นว่า หะดีษมุรสัลนำมาเป็นหลักฐานไม่ได้ เพราะไม่สามารถรู้ได้ว่าผู้รายงานหะดีษที่ตกหล่นนั้นเป็นเศาะหาบะฮฺหรือไม่  ถ้าไม่ใช่เศาะหาบะฮฺแล้วเขาผู้นั้นเชื่อถือได้หรือไม่
ข. ท่านอบูหะนีฟะฮฺ มาลิก อะหฺมัด เห็นว่าหะดีษมุรสัลนำมาเป็นหลักฐานได้ เพราะตาบิอีนเป็นผู้ที่มีคุณธรรมย่อมรายงานจากผู้ที่มีคุณธรรมเช่นกัน และคงไม่มีเจตนาที่จะปกปิดข้อบกพร่องใดๆ
ค.  นักวิชาการสังกัดสำนักคิดหะนะฟีย์บางคนเห็นว่าหะดีษมุรสัลนำมาเป็นหลักฐานได้ ถ้าหากผู้ที่รายงานนั้นอยู่ในยุคฮิจเราะห์ศตวรรษที่ 3
ง.  อิหม่าม อัชชาฟิอีย์ มีทัศนะว่าเห็นว่าหะดีษมุรสัลนำมาเป็นหลักฐานได้ หากหะดีษนั้นมีหะดีษที่สายรายงานติดต่อกัน, ทัศนะของเศาะหาบะฮฺ, มติของนักวิชาการส่วนใหญ่, หรือกียาส มาสนับสนุน

http://www.mureed.com/Hadis/Hadis4.htm

สาม - อัลฮะกัม ได้รายงานฮะดีษจากตาบิอีนสืบถึงซอฮาบะฮ์ ดังต่อไปนี้

************

3.1. ซอฮิฮ์บุคอรี  ฮะดีษที่ 1563  อัลฮะกัม รายงานจาก อาลี บิน ฮูเซน จากมัรวาน ถึงท่านอาลี

حَدَّثَنَا شُعْبَةُ عَنِ الْحَكَمِ عَنْ عَلِىِّ بْنِ حُسَيْنٍ عَنْ مَرْوَانَ بْنِ الْحَكَمِ قَالَ شَهِدْتُ عُثْمَانَ وَعَلِيًّا...

3.2. ซอฮิฮ์บุคอรี  ฮะดีษที่ 3705  อัลฮะกัม รายงานจาก อิบนิอบีลัยลา ถึงท่านอาลี

حَدَّثَنَا شُعْبَةُ عَنِ الْحَكَمِ سَمِعْتُ ابْنَ أَبِى لَيْلَى قَالَ حَدَّثَنَا عَلِىٌّ أَنَّ فَاطِمَةَ عَلَيْهَا السَّلاَمُ شَكَتْ مَا تَلْقَى مِنْ أَثَرِ الرَّحَا

3.3. ซอฮิฮ์บุคอรี  ฮะดีษที่ 3772 อัลฮะกัม รายงานจาก อบีลัยลา ถึงท่านอาลี

حَدَّثَنَا شُعْبَةُ عَنِ الْحَكَمِ سَمِعْتُ أَبَا وَائِلٍ قَالَ لَمَّا بَعَثَ عَلِىٌّ عَمَّارًا وَالْحَسَنَ إِلَى الْكُوفَةِ

3.4. ซอฮิฮ์มุสลิม  ฮะดีษที่ 1456 อัลฮะกัม รายงานจาก ยะห์ยา บินอัลญัซซาร  ถึงท่านอาลี

حَدَّثَنَا شُعْبَةُ عَنِ الْحَكَمِ عَنْ يَحْيَى(بْنِ الْجَزَّارِ) سَمِعَ عَلِيًّا يَقُولُ قَالَ رَسُولُ اللَّهِ (ص) يَوْمَ الأَحْزَابِ...

3.5. สุนันอบีดาวูด ฮะดีษที่ 3100 อัลฮะกัม รายงานจาก อับดุลลอฮ์ บิน นาฟิอ์ ถึงท่านอาลี

شُعْبَةُ عَنِ الْحَكَمِ عَنْ عَبْدِ اللَّهِ بْنِ نَافِعٍ عَنْ عَلِىٍّ قَالَ مَا مِنْ رَجُلٍ يَعُودُ مَرِيضًا مُمْسِيًا إِلاَّ خَرَجَ مَعَهُ سَبْعُونَ أَلْفَ مَلَكٍ

3.6. มุอ์ญัม ซ่อฆีร ของอัฏฏ็อบรอนี  ฮะดีษที่ 907 อัลฮะกัม รายงานจาก อิบรอฮีม อันนะคออี จากอัลก่อมะฮ์ ถึงท่านอาลี

حدثنا شعبة بن الحجاج ، عن الحكم بن عتيبة ، عن إبراهيم النخعي ، عن علقمة بن قيس ، قال : رأيت علي بن أبي طالب على منبر الكوفة وهو يقول : سمعت رسول الله صلى الله عليه وآله وسلم يقول : « لا يزني الزاني وهو مؤمن ، ولا يسرق السارق وهو مؤمن

3.7. มุสนัดอะหมัด  ฮะดีษที่ 662  อัลฮะกัม รายงานจาก อบีมุฮัมมัด อัลฮุซัลลี ถึงท่านอาลี

عَنْ شُعْبَةَ عَنِ الْحَكَمِ عَنِ أَبِي مُحَمَّدٍ الْهُذَلِيِّ عَنْ عَلِيٍّ رَضِيَ اللَّهُ عَنْهُ قَالَ كَانَ رَسُولُ اللَّهِ (ص)


3.8. สุนัน อัลบัยฮะกี ฮะดีษที่  7314 อัลฮะกัม รายงานจาก อุมัยริน บิน สะอีด ถึงท่านอาลี

حَدَّثَنَا شُعْبَةُ عَنِ الْحَكَمِ عَنْ عُمَيْرِ بْنِ سَعِيدٍ النَّخَعِىِّ قَالَ : شَهِدْتُ عَلِىَّ بْنَ أَبِى طَالِبٍ رَضِىَ اللَّهُ عَنْهُ وَأَدْخَلَ مَيِّتًا فِى قَبْرِهِ فَقَالَ : اللَّهُمَّ عَبْدُكَ ابْنُ عَبْدُكَ نَزَلَ بِكَ وَأَنْتَ خَيْرُ مَنْزُولٍ بِهِ...

3.9. มุสนัดอะหมัด  ฮะดีษที่ 1111  อัลฮะกัม รายงานจาก อบี อัลมุวัรริ๊อ์ ถึงท่านอาลี

عَنْ شُعْبَةَ عَنِ الْحَكَمِ عَنْ أَبِي الْمُوَرِّعِ عَنْ عَلِيٍّ قَالَ

************
อาจเป็นไปได้ที่  อัลฮะกัม ได้รับรายงานฮะดีษมาจากบุคคลเหล่านี้ที่เล่าไปถึงท่านอาลี คือ
1. อาลี บิน ฮูเซน
2. อิบนิอบีลัยลา
3. อบีลัยลา
4. ยะห์ยา บินอัลญัซซาร 
5. อับดุลลอฮ์ บิน นาฟิอ์
6. อิบรอฮีม อันนะคออี จากอัลก่อมะฮ์
7. อบีมุฮัมมัด อัลฮุซัลลี
8. อุมัยริน บิน สะอีด
9. อบี อัลมุวัรริ๊อ์

แต่อย่างไรก็ตามเรารู้ดีว่า ท่านจะไม่ยอมรับฮะดีษมุรซัลนี้ และเราจะไม่เอาฮะดีษที่ขาดตอนนี้มาพิสูจน์ว่า ท่านอาลีคัดค้านท่านอุมัรเรื่องสั่งห้ามมุตอะฮ์สตรี 
เราต้องการแค่ให้ท่านรับรู้ว่า เรื่องท่านอาลีค้านนั้นมีมูลความจริง เพราะอัลฮะกัม บิน อุตัยบะฮ์ได้รับความเชื่อถือ จากบุคอรีและมุสลิม และนักปราชญ์ฮะดีษคนอื่นๆอีกมากมาย

โปรดติดตามตอนที่ 4
#21
วิจารณ์การหมกเม็ดของอาจารย์ฟารีด เฟ็นดี้  ด้วยสามคำถามคือ
หนึ่ง – ฮะดีษมุรซัล ที่ซอฮิฮ์มีบ้างไหมในตำราบุคอรี
สอง -  อัลฮะกัม  ได้รับความน่าเชื่อถือไหม 
สาม - อัลฮะกัม ได้รายงานฮะดีษจากซอฮาบะฮ์ชื่ออะไรบ้าง

۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩

หนึ่ง – ฮะดีษมุรซัล ในตำราบุคอรี มีบ้างไหม ถ้ามีทำไมถึงระบุว่า ซอฮิฮ์

************

ตอบ - ในซอฮิฮ์บุคอรี ฮะดีษที่ 4070 ได้บันทึกว่า

عَنْ حَنْظَلَةَ بْنِ أَبِى سُفْيَانَ سَمِعْتُ سَالِمَ بْنَ عَبْدِ اللَّهِ يَقُولُ كَانَ رَسُولُ اللَّهِ (ص) يَدْعُو عَلَى صَفْوَانَ بْنِ أُمَيَّةَ وَسُهَيْلِ بْنِ عَمْرٍو وَالْحَارِثِ بْنِ هِشَامٍ

ฮันซ่อละฮ์ บิน อบีซุฟยานเล่าว่า ฉันได้ยิน "ซาลิม บิน อับดุลลอฮ์"  เล่าว่า ท่านรอซูล(ศ)เคยขอดุอาอ์สาปแช่งต่อศ็อฟวาน บิน อุมัยยะฮ์......

ซาลิม ผู้นี้คือบุตรชายของ อับดุลลอฮ์ บิน อุมัร บินคอตตอบ เขาตาย ในปี ฮ.ศ. 106
อัลอิจญ์ลี กล่าวว่า

سالم بن عبد الله بن عمر مدني تابعي

ซาลิม บิน อับดุลลอฮ์ บิน อุมัร  ชาวมะดีนะฮ์ เขาเป็นตาบิอีน
ดูกิตาบอัษษิกอต ของอัลอิจญ์ลี อันดับที่ 541

(ขอกล่าวว่า  ซาลิมเป็น "ตาบิอีน"  ซึ่งเขาไม่ได้พบเห็นท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ. )
ดังนั้น เป็นไปได้อย่างไรที่จะกล่าวว่า ซาลิม บิน อับดุลลอฮ์ ได้ฟังคำพูดนี้มาจากท่านรอซูล(ศ) ด้วยตนเอง หรือหากจะอ้างว่า ซาลิม บิน อับดุลลอฮ์  ได้ฟังคำพูดนี้มาจากบุคคลอื่นที่ได้ยินมาจากท่านรอซูล(ศ)อีกทอดหนึ่ง แล้วผู้ที่กล่าวถึงในที่นี้คือใคร ซึ่งไม่มีตัวตนที่จะนำมาระบุในสายรายงานได้ เพราะฉะนั้นข้อความที่อ้างว่า ท่านรอซูล(ศ)เป็นคนขอดุอาอ์สาปแช่งนี้ จึงเป็นการกล่าวเท็จ ใส่ความท่านรอซูล(ศ)ใช่ไหม   และสิ่งสำคัญมันอยู่ใน ซอฮิฮ์บุคอรี ซะด้วยสิ

สอง -  อัลฮะกัม  ได้รับความน่าเชื่อถือแค่ไหนในสายตาอุละมาอ์ซุนนะฮ์ 
************
ตอบ
2.1. อัลบุคอรี ถือว่า อัลฮะกัม เชื่อถือได้

حَدَّثَنَا شُعْبَةُ عَنِ الْحَكَمِ سَمِعْتُ أَبَا وَائِلٍ قَالَ لَمَّا بَعَثَ عَلِىٌّ عَمَّارًا وَالْحَسَنَ إِلَى الْكُوفَةِ

ชุอ์บะฮ์ เล่าจาก "อัลฮะกัม" เล่าว่า ฉันได้ยินอบูวาอิลเล่าว่า เมื่อท่านอาลีได้ส่งท่านอัมมารกับท่านฮาซันไปที่เมืองกูฟะฮ์...   ดูซอฮิฮ์บุคอรี ฮะดีษที่ 3772

2.2. มุสลิม บิน ฮัจยาจ(เจ้าของตำราซอฮิฮ์มุสลิม) ถือว่า อัลฮะกัม เชื่อถือได้   

حَدَّثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ الْمُثَنَّى قاَلَ مُحَمَّدُ بْنُ جَعْفَرٍ حَدَّثَنَا شُعْبَةُ عَنِ الْحَكَمِ قَالَ سَمِعْتُ ابْنَ أَبِى لَيْلَى حَدَّثَنَا عَلِىٌّ...

มุฮัมมัด บินมุษันนา จากมุฮัมมัด บินญะอ์ฟัร จาก ชุอ์บะฮ์ เล่าจาก"อัลฮะกัม" เล่าว่า ฉันได้ยินอิบนิอบีลัยลา เล่าว่า ท่านอาลีได้เล่าว่า...   ดูซอฮิฮ์มุสลิม ฮะดีษที่ 7090

2.3. อัลอิจญ์ลี วิจารณ์ว่า

الحكم بن عتيبة ثقة ثبت في الحديث وكان من فقهاء أصحاب إبراهيم النخعي وكان صاحب سنة

อัลฮะกัม นั้นเชื่อถือได้อย่างมั่นคงในการรายงานฮะดีษ และเขาคือหนึ่งในฟุก่อฮาอ์แห่งอัศฮาบของอิบรอฮีม อันนะค่ออีย์ และอัลฮะกัมคือเจ้าของตำราซุนนะฮ์
ดูกิตาบอัษษิกอต ของอัลอิจญ์ลี อันดับที่ 337

2.4. อัซซะฮะบี วิจารณ์ว่า

الحكم بن عتيبة الامام الكبير عالم أهل الكوفة

อัลฮะกัม บิน อุตัยบะฮ์ คือ อิหม่าม ผู้ยิ่งใหญ่ เป็นอาเล่มแห่งเมืองกูฟะฮ์
ดู ซิยัร อะอ์ลาม อันนุนุบะลาอ์ อันดับ 83

2.5. อิบนิฮะญัร อัลอัสก่อลานี วิจารณ์ว่า

الحكم ابن عتيبة : ثقة ثبت فقيه

อัลฮะกัม บิน อุตัยบะฮ์  เขาเชื่อถือได้อย่างมั่นคง เป็นฟะกีฮ์
ดู ตักรีบ อัตตะฮ์ซีบ อันดับ 1453

2.6. ท่านยะห์ยา บิน มะอีน กล่าวว่า

عن يحيى بن معين قال الحكم بن عتيبة ثقة

อัลฮะกัม บิน อุตัยบะฮ์  เขาเชื่อถือได้    ดูอัลญัรฮุ วัตตะอ์ดีล ของอิบนิอบีฮาติม อันดับที่ 567

2.7. ท่านอิบนุ สะอัด กล่าวว่า

وكان الحكم بن عتيبة ثقة فقيها ، عالما ، عاليا ، رفيعا ، كثير الحديث

อัลฮะกัม บิน อุตัยบะฮ์  เขาเชื่อถือได้ เป็นฟะกีฮ์  เป็นผู้รู้ผู้สูงส่ง รายงานฮะดีษไว้มากมาย
ดูหนังสือ อัตต็อบกอตุล กุบรอ เล่ม 6 หน้า 332

สรุป-อุละมาอ์ซุนนะฮ์เจ็ดคนกล่าวว่า  อัลฮะกัม บิน อุตัยบะฮ์ เชื่อถือได้ในการรายงานฮะดีษ
(แล้วย้อนมาฟังอาจารย์ฟารีด ได้กล่าวว่า -  ดังนั้น เป็นไปได้อย่างไรที่จะกล่าวว่า อัลฮะกัม ได้ฟังคำพูดนี้มาจากท่านอาลี อิบนิ อบีฏอลิบ ด้วยตนเอง หรือหากจะอ้างว่า อัลฮะกัม ได้ฟังคำพูดนี้มาจากบุคคลอื่นที่ได้ยินมาจากท่านอาลีอีกทอดหนึ่ง แล้วผู้ที่กล่าวถึงในที่นี้คือใคร ซึ่งไม่มีตัวตนที่จะนำมาระบุในสายรายงานได้เพราะฉะนั้นข้อความที่อ้างว่า ท่านอาลี อิบนิ อบีฏอลิบ เป็นคนพูดประณามท่านอุมัรในเรื่องมุตอะฮ์นั้น  จึงเป็นการกล่าวเท็จ ใส่ความท่านอาลี )

โปรดติดตามตอน 3
#22
อิม่ามอาลี บิน อบีตอลิบ

รายงานฮะดีษที่ระบุว่า

ท่านอาลี บิน อบีตอลิบ ได้แสดงการคัดค้านท่านอุมัร เรื่องสั่งห้ามมุตอะฮ์สตรี

۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩

ฮะดีษที่ - หนึ่ง

حَدَّثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ الْمُثَنَّى قاَلَ، حَدَّثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ جَعْفَرٍ قَالَ ، حَدَّثَنَا شُعْبَةُ ، عَنِ الْحَكَمِ قاَلَ : سَأَلْتُهُ عَنْ هَذِهِ الْآيَةِ:" وَالْمُحْصَنَاتُ مِنَ النِّسَاءِ إِلَّا مَا مَلَكَتْ أَيْمَانُكُمْ " إِلَى هَذاَ الْمَوْضِعِ :" فَمَا اسْتَمْتَعْتُمْ بِهِ مِنْهُنَّ "، أَمَنْسُوْخَةٌ هِيَ ؟ قاَلَ : لاَ = قاَلَ الْحَكَمُ : وَقاَلَ عَلِيُّ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ : لوَلاَ أَنَّ عُمَرَ رَضِيَ اللهُ عَنْهُ نَهَى عَنِ الْمُتْعَةِ ماَ زَنَى إِلاَّ شَقِيٌّ

อิบนุญะรีร กล่าวว่า  :   มุฮัมมัด บิน อัลมุษันนา เล่าให้เราฟังโดยกล่าวว่า มุฮัมมัด บิน ญะอ์ฟัร เล่าให้เราฟังโดยกล่าวว่า ชุอ์บะฮ์ (บินอัลฮัจญาจ) เล่าให้เราฟัง
จากอัลฮะกัม ได้เล่าว่า ฉันได้ถาม" เขา " ถึงอายะฮ์นี้ จนถึง ข้อความนี้
((ดังนั้นสตรีใดที่พวกเจ้าแสวงหาความสุขกับนาง ก็จงมอบให้แก่พวกนางซึ่งสินตอบแทนตามที่ได้กำหนดไว้ และไม่เป็นความบาปใดๆแก่พวกเจ้า)) ว่าถูกยกเลิกแล้วหรือยัง ?
เขา ได้ตอบว่า ยังไม่ยกเลิก
อัลฮะกัมกล่าวว่า
ท่านอาลี(ร.ฎ)กล่าวว่า ถ้าหากอุมัรไม่ได้สั่งห้ามทำมุตอะฮ์ จะไม่มีใครจำเป็นต้องทำซีนา นอกจากคนชั่วจริงๆ

ดูตัฟสีร ญามิอุลบะยาน ของอิบนุญะรีร อัฏฏ็อบรีย์ เล่ม 5 หน้า 19 อันดับที่ 9042 
************

อ.ฟารีด เฟ็นดี้ ได้วิจารณ์สายรายงานฮะดีษนี้ไว้ในเว็บไซต์ของเขา

http://www.fareedfendy.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=196

(ขอยกตรงประเด็นที่อาจารย์ฟารีด วิจารณ์ว่า)
สายรายงานนี้สุดที่ อัลฮะกัม บิน อุตัยบะห์ (الْحَكَمِ بْن عُتَيْبَةَ)แล้วกระโดดข้ามไปถึงท่านอาลี อิบนิ อบีฏอลิบ
ประเด็นที่เราพิสูจน์ทราบก็คือ

→→→→→

1 – ในสารบบนักรายงานฮะดีส ผู้เป็นครูและศิษย์นั้น อัลฮะกัม บินอุตัยบะฮ์  ไม่เคยเป็นครู เป็นศิษย์กับท่าน อาลี อิบนิ อบีฏอลิบ
2 – ท่านอาลี เสียชีวิตปีที่ 40 ฮิจเราะฮ์ ในขณะที่ อัลฮะกัม เกิดปีที่ 50 ฮิจเราะฮ์ (ขอแย้งว่าท่านซะฮะบีระบุว่า อัลฮะกัมเกิดปี ฮ.ศ. 46  ไม่ใช่ปีฮ.ศ. 50 ดูซิยัรอะอ์ลามุนนุบะลาอ์ อันดับ 83)
(อาจารย์ฟารีด กล่าวว่า) - ดังนั้น เป็นไปได้อย่างไรที่จะกล่าวว่า อัลฮะกัม ได้ฟังคำพูดนี้มาจากท่านอาลี อิบนิ อบีฏอลิบ ด้วยตนเอง หรือหากจะอ้างว่า อัลฮะกัม ได้ฟังคำพูดนี้มาจากบุคคลอื่นที่ได้ยินมาจากท่านอาลีอีกทอดหนึ่ง แล้วผู้ที่กล่าวถึงในที่นี้คือใคร ซึ่งไม่มีตัวตนที่จะนำมาระบุในสายรายงานได้เพราะฉะนั้นข้อความที่อ้างว่า ท่านอาลี อิบนิ อบีฏอลิบ เป็นคนพูดประณามท่านอุมัรในเรื่องมุตอะฮ์นั้น  จึงเป็นการกล่าวเท็จ ใส่ความท่านอาลี

โปรดติดตามตอน 2
#23
ฮะดีษเฮือกสุดท้าย
สำหรับผู้ที่ยกหลักฐานอ้างอิงเรื่อง มุตอะฮ์สตรีคือสิ่งฮะร่าม

۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩

หลังจากที่การแอบอ้างเรื่องสั่งห้ามมุตอะฮ์สตรีในตำราซอฮิฮ์บุคอรีย์และซอฮิฮ์มุสลิมถูกทำลายลงไปด้วยเหตุผลต่างๆตามที่เราได้วิจารณ์ผ่านไปแล้ว 

จึงเหลือหลักฐานเฮือกสุดท้ายที่พวกเขาได้หยิบตำราฮะดีษอันดับที่ห้า(คือสุนันอิบนิมาญะฮ์)มาอ้างอิง

۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩

حَدَّثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ خَلَفٍ الْعَسْقَلاَنِىُّ حَدَّثَنَا الْفِرْيَابِىُّ عَنْ أَبَانَ بْنِ أَبِى حَازِمٍ عَنْ أَبِى بَكْرِ بْنِ حَفْصٍ عَنِ ابْنِ عُمَرَ قَالَ

มุฮัมมัด บิน ค่อลัฟ อัลอัสก่อลานี → จากอัลฟิรยาบี →จากอะบาน บิน อบีฮาซิม →จากอบีบักร บิน ฮัฟซ์→ จาก

ท่านอิบนุอุมัร ได้เล่าว่า 

لَمَّا وَلِىَ عُمَرُ بْنُ الْخَطَّابِ خَطَبَ النَّاسَ فَقَالَ

เมื่อท่านอุมัร บิน คอตตอบได้ปกครอง เขาได้คุตบะฮ์ต่อประชาชนว่า

إِنَّ رَسُولَ اللَّهِ (ص) أَذِنَ لَنَا فِى الْمُتْعَةِ ثَلاَثًا

ท่านรอซูล(ศ)ได้อนุญาตให้พวกเราในเรื่องมุตอะฮ์สตรี สามครั้ง

ثُمَّ حَرَّمَهَا وَاللَّهِ لاَ أَعْلَمُ أَحَدًا تَمَتَّعَ وَهُوَ مُحْصَنٌ إِلاَّ رَجَمْتُهُ بِالْحِجَارَةِ

ต่อมาท่านรอซูลได้ห้ามทำมุตอะฮ์  ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ว่า ฉันไม่รู้ว่ามีใครได้ทำมุตอะฮ์สตรีในขณะที่เขาคือผู้บริสุทธิ์ ยกเว้น ฉันจะขว้างเขาด้วยก้อนหิน

إِلاَّ أَنْ يَأْتِيَنِى بِأَرْبَعَةٍ يَشْهَدُونَ أَنَّ رَسُولَ اللَّهِ أَحَلَّهَا بَعْدَ إِذْ حَرَّمَهَا

ยกเว้น ถ้าใครนำพยานมาให้ฉัน สี่คน ว่า ท่านรอซูลได้ฮะลาลมุตอะฮ์ หลังจากที่ท่านรอซูลได้ห้ามมัน

ดูหนังสือ สุนัน อิบนิมาญะฮ์  ฮะดีษที่  2039

۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩۩

วิจารณ์ - 
ฮะดีษที่อิบนิมาญะฮ์นำออกรายงานเรื่องห้ามมุตอะฮ์สตรีนี้  เป็นเรื่องที่ไม่จริง ด้วยประการต่อไปนี้

1.ฮะดีษในตำราซุนนะฮ์เองได้อ้างว่า  ท่านรอซูล(ศ)ได้อนุมัติให้ทำมุตอะฮ์สตรี เกินสี่ครั้ง  ไม่ใช่แค่สามครั้ง หรือสามคืนเท่านั้น คืออย่างน้อยสี่-ห้าครั้งที่อนุญาตให้ทำ  แต่นี่ท่านอุมัรบอกว่าสามครั้ง

2.ท่านรอซูล(ศ)ไม่เคยออกฮุก่มว่า คนใดทำมุตอะฮ์สตรีต้องถูกขว้าง ดังนั้นคนทำมุตอะฮ์สตรีจะไม่ถูกขว้าง  แต่ท่านอุมัรได้ออกกฎใหม่ว่า คนทำมุตอะฮ์ต้องถูกขว้าง

3.สมมุติว่า ฮะดีษของท่านอุมัรบทนี้ ถูก(แค่สมมุตินะ) มันก็ไปขัดแย้งกับฮะดีษของท่านญาบิร , อิบนิมัสอู๊ด,อิบนิอับบาส,อิมรอน บิน ฮุซ็อยน์ และซอฮาบะฮ์คนอื่นๆอีกมากมาย ตามที่เราได้กล่าวไปแล้ว และจะนำมากล่าวใหม่ในคราวต่อไป

4.ท่านอุมัรได้อ้างถึงฮุก่ม(กฎ)หนึ่ง พาดพิงไปถึงท่านรอซูล(ศ)แค่เขาคนเดียว แต่ทำไมอุมัรกลับต้องให้ฝ่ายค้านกับเขานั้น ต้องมีเกินหนึ่งคน  เพราะความจริง แค่มีซอฮาบะฮ์หนึ่งคนได้มีรายงาน ตรงกันข้ามกับรายงานของอุมัร เพียงคนเดียวก็พอแล้ว และถือว่ารายงานของอุมัรเป็นอันตกไปจากความน่าเชื่อถือ ยิ่งโดยเฉพาะถ้าหลักฐานนั้นมาจากตำราฮะดีษที่น่าเชื่อถือกว่าอย่างเช่นซอฮิฮ์บุคอรีและมุสลิม ซึ่งจะได้นำเสนอในคราวต่อไป

5.ฮะดีษของท่านอุมัรบทนี้ บ่งบอกว่า การถือว่ามุตอะฮ์สตรีเป็นสิ่งฮะร่ามนั้น ไม่ใช่ตลอดกาล เพราะอุมัรพูดเองว่า((ยกเว้น ถ้าหากใครนำพยานมาให้ฉัน ถึงสี่คน ว่า ท่านรอซูลได้ฮะลาลมุตอะฮ์)) คำพูดของอุมัรนี้ได้แสดงว่า เขาก็ยังเฝ้ารออย่างหวั่นๆถึงการเป็นฮะล้าลของมุตอะฮ์อยู่ แค่มีพยานสี่คนจากซอฮาบะฮ์ด้วยกัน  และเราจะได้กล่าวในคราวต่อไป  ถึงรายงานฮะดีษของซอฮาบะฮ์ที่เป็นหลักฐานว่า มุตอะฮ์สตรียังคงเป็นสิ่งฮะลาล

6.สมมุติว่า รายงานของอุมัรนี้ถูก(แค่สมมุตินะ) นั่นแสดงว่า ท่านอุมัร ไม่เคยรู้เรื่องมาก่อนเลยว่า ท่านรอซูล(ศ)ได้เคยสั่งห้ามมุตอะฮ์สตรีถึงวันกิยามะฮ์มาแล้วครั้งหนึ่งซึ่งท่านได้ทำหารคุตบะฮ์โดยยืนอยู่ระหว่างรุกน์กับมะกอมอิบรอฮีม ตามที่ซับเราะฮ์ บิน มะอ์บัดได้รายงานไว้เพียงคนเดียวเช่นกัน โดยไม่มีใครในกองทัพซอฮาบะฮ์ที่ไปพิชิตมักกะฮ์สักคนรายงาน  และต่อมาหลังจากพิชิตมักกะฮ์ ท่านรอซูล(ศ)ก็ได้อนุมัติให้ซอฮาบะฮ์ทำมุตอะฮ์สตรีได้อีก ทั้งๆในวันพิชิตมักกะฮ์ซับเราะฮ์ได้อ้างว่า มันถูกสั่งห้ามทำจนกิยามะฮ์ แต่หลังจากนั้นท่านรอซูล(ศ)ได้อนุญาตให้ทำอีก นั่นได้เผยให้เห็นที่ความมุสาของผู้เล่า(คือซับเราะฮ์) เพราะถ้าท่านรอซูล(ศ)สั่งห้ามยันวันกิยามะฮ์จริงๆ แล้วทำไมท่านยังมาอนุญาตให้ทำได้อีก  ก็เหมือนกรณีการเล่าของท่านอุมัร เพราะถ้าท่านรอซูล(ศ)สั่งห้ามจริงๆ ทำไมหลังจากอุมัรตาย ยังมีรายงานว่า ซอฮาบะฮ์คนอื่นๆยังถือว่า มุตอะฮ์สตรีคือสิ่งฮะล้าล  ประเด็นนี้สิน่าคิดเพราะมีซอฮาบะฮ์หลายคนสะด้วย 

7.ทำไมท่านอุมัรต้องสร้างเงื่อนไขว่า ต้องมีพยานถึงสี่คน มายืนยันว่า มุตอะฮ์สตรียังเป็นสิ่งฮะลาล หลังจากที่เขาออกปากอ้างไปแล้วว่ามุตอะฮ์คือสิ่งฮะร่าม ซึ่งความจริงมีพยานที่เชื่อถือได้แค่หนึ่งคนก็เพียงพอแล้ว  เพราะมันไม่ใช่เรื่องทำซีนาที่ต้องใช้พยานสี่คน อันที่จริงมันเป็นการยืนยันเรื่องฮุก่มชัรอีย์(บทบัญญัติศาสนา)หนึ่งว่า มันฮะลาล หรือ มันฮะร่าม   ทำไมเอาพยานมาแค่สองคนหรือสามคนไม่พอหรือ  ในเมื่อชาวซุนนะฮ์เชื่ออยู่แล้วว่า ซอฮาบะฮ์ทุกคนนั้นมีอะดาละฮ์  ขนาดฮุก่มเรื่องมรดกท่านนบี(ศ)คือซอดาเกาะฮ์เห็นมีคนยืนยันเรื่องนี้ว่าจริง แค่พยานคนเดียวเองยังยอมรับกันเลยนั่นคือท่านอบูบักร แต่พอเรื่องมุตอะฮ์ฮะลาลกลับมากำหนดว่าต้องมีพยานถึงสี่คน

8.คำพูดของท่านอุมัรที่ว่า((ยกเว้น ถ้าหากใครนำพยานมาให้ฉัน ถึงสี่คน ว่า ท่านรอซูลได้ฮะลาลมุตอะฮ์ หลังจากที่ท่านรอซูลได้ห้ามมัน)) ชี้ให้เห็นว่า ตัวอุมัรเองก็ยังไม่ค่อยมั่นใจนักว่า ฮุก่มห้ามมุตอะฮ์สตรีนี้ยังคงดำเนินอยู่ต่ออีกหรือปล่าว  หรือชี้ให้เห็นว่า ตัวเขาก็ยังไม่มั่นใจนักว่า การห้ามนี้เป็นการห้ามที่ส่งผลถึงเรื่องฮะร่าม เพราะบางทีอาจเป็นการห้ามปรามในเชิงควบคุมบริหารเพื่อพิทักษ์สิทธิสตรี ที่ในไม่ช้าพอวาระการสมรสนี้ต้องหมดไประหว่างคู่สมรส ฝ่ายชายก็ต้องเดินทางจากสถานที่ๆไปรบกลับสู่บ้านเมืองของพวกเขา

นี่คือการวิจารณ์ แบบชวนใช้สมองคิดควบคู่ไปกับการที่เราจะนำหลักฐานจากฮะดีษและคำอธิบายของอุลามาอ์ซุนนะฮ์ มาพิสูจน์ถึงความเป็นโมฆะในรายงานของอิบนิมาญะฮ์บทนี้ในคราวต่อไป อินชาอัลลอฮ์ ตะอาลา
#24
คำตัดสินของเชคอับดุลอะซีซ บินบาซ เกี่ยวกับจุดยืนและข้อเท็จจริงของกลุ่มอิควานุลมุสลิมีน ท่านเชคบินบาซ ได้กล่าวว่า
"บทบาทการเคลื่อนไหวของกลุ่มอิควานุลมุสลิมีนนั้นได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์จากกลุ่มนักวิชาการศาสนาผู้สันทัดกรณีและทรงคุณวุฒิว่า แท้จริงแล้วกลุ่มนี้มิได้มีบทบาทในการเรียกร้องผู้คนไปสู่การให้เอกภาพต่ออัลลอห์ (เตาฮีด) และมิได้มีบทบาทในการต่อต้านการตั้งภาคีต่ออัลลอห์ (ชิริก) ตลอดจนเรื่องการกระทำสิ่งต่อเติมอันหลงผิดในศาสนา (บิดอะหฺ)
    และสำหรับกลุ่มนี้มีรูปแบบและวิธีการต่างๆที่เป็นของพวกเขาโดยเฉพาะซึ่งนับเป็นสิ่งที่บกพร่อง อันเนื่องมาจากการไร้ซึ่งบทบาทในการเรียกร้องผู้คนไปสู่การให้เอกภาพต่ออัลลอห์ และไร้ซึ่งการชี้แนะผู้คนไปสู่หลักการศรัทธาที่ถูกต้อง อันเป็นหลักการศรัทธาที่กลุ่มอะห์ลุสซุนนะห์วั้ลญะมาอะห์ได้ดำรงอยู่
    ดังนั้นกลุ่มอิควานฯ จึงสมควรเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหันมาให้ความสำคัญและเอาใจใส่ต่อการเผยแผ่อิสลามตามแนวทางของชาวสลัฟ(กลุ่มชนผู้ศรัทธาในยุคสามร้อยปีแรกของอิสลามที่ใช้อัลกุรอานและซูนนะห์เป็นแนวทางในการดำรงศาสนา)
    นั่นก็คือการเผยแผ่อิสลามโดยเรียกร้องผู้คนไปสู่การให้เอกภาพต่ออัลลอห์ และต่อต้านพิธีกรรมต่างๆ ในสุสานที่เกี่ยวข้องกับคนตาย และการขอความช่วยเหลือจากคนตาย"

จากนั้นท่านเชคบินบาซได้ถูกสอบถามเกี่ยวกับหะดีษบทหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการแตกแยกของประชาชาติอิสลามซึ่งมีใจความดังนี้

ท่านนบีมุฮัมมัด (ศ.)ได้กล่าวว่า " ประชาชาติของฉันจะแตกออกเป็น 73 กลุ่ม โดยทุกๆกลุ่มนั้นจะอยู่ในขุมนรกยกเว้นเพียงแค่กลุ่มเดียวเท่านั้น"
(ซึ่งกลุ่มที่ปลอภัยกลุ่มเดียวนั้นก็คือกลุ่มที่ปฏิบัติตามแนวทางของท่านนบีและซอฮาบะห์ของท่าน)

จากหะดีษบทนี้ ท่านเชคบินบาซ ได้ถูกถามว่า
"แล้วกลุ่มญะมาอะห์ตับลีฆที่มีภาพลักษณ์เต็มไปด้วยการตั้งภาคีต่ออัลลอห์ในรูปแบบต่างๆ และการกระทำในสิ่งต่อเติมอันหลงผิดในอิสลาม และกลุ่มอิควานฯที่มีภาพลักษณ์ของการแบ่งพรรคแบ่งพวก และละเมิดฝ่าฝืนคำสั่ง ตลอดจนละทิ้งการเชื่อฟังและปฏิบัติตามผู้นำ อยากทราบว่า ทั้ง 2 กลุ่มนี้จะถือว่าเป็นส่วนหนึ่งจาก 72 กลุ่มที่อยู่ในขุมนรกหรือไม่?"

ท่านเชคบินบาซได้กล่าวตอบไปว่า
"ผู้ใดก็ตามที่สวนทางหรือขัดแย้งกับหลักการศรัทธาของอะห์ลุสซุนนะห์วัลญะมาอะห์ (ที่มีอัลกุรอานและแบบอย่างของท่านนบีมุฮัมมัดเป็นธรรมนูญสูงสุดในการดำเนินชีวิต) เขาผู้นั้นถือว่าเข้าข่ายเป็นส่วนหนึ่งจาก 72 กลุ่มที่อยู่ในขุมนรก"

คำว่า ประชาชาติของฉันในหะดีษนั้น หมายถึง ผู้ที่ตอบรับการเรียกร้องไปสู่อิสลามของท่านนบีมุฮัมมัดและเข้ารับอิสลาม (มิได้หมายรวมไปถึงผู้ที่ไม่เข้ารับอิสลาม) ดังนั้นคำว่า 72 กลุ่มก็จะมีเพียงกลุ่มเดียวเท่านั้นที่ปลอดภัยอันเนื่องมาจากการปฏิบัติตามคำสอนของท่านนบีมุฮัมมัด และดำรงตนอยู่ในหลักคำสอนของศาสนาอย่างเคร่งครัด

ส่วนอีก 72 กลุ่มที่เหลือนั้น ก็จะมีสภาพที่แตกต่างกันมากมายหลายแบบ โดยมีทั้งกลุ่มที่เป็นกาเฟร (ผู้ปฏิเสธอิสลาม หรือผู้ที่สิ้นสภาพจากการเป็นมุสลิม) และมีทั้งกลุ่มที่มีผู้ฝ่าฝืนคำสอนของศาสนา และกลุ่มที่มีผู้กระทำสิ่งต่อเติมอันหลงผิดในศาสนา เป็นต้น

จากนั้น ท่านเชคบินบาซได้ถูกเน้นย้ำจากผู้ถามอีกว่า "แล้วสองกลุ่มนี้ (ญะมาอะห์ตับลีฆ และ อิควานฯ) ถือว่าเข้าข่ายเป็นส่วนหนึ่งจาก 72 กลุ่มที่อยู่ในขุมนรกหรือไม่? "

ท่านเชคบินบาซจึงได้กล่าวตอบไปว่า "ใช่แล้ว" สองกลุ่มนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งจาก 72 กลุ่มที่อยู่ในขุมนรก"

//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

ตัวบท

فتاوى أهل العلم في جماعة الإخوان
فتاوى الإمام عبد العزيز بن عبد الله بن باز ـ رحمه الله ـ:
قال ـ رحمه الله ـ: "حركة الإخوان المسلمين ينتقدها خواص أهل العلم لأنه ليس عندهم نشاط في الدعوة إلى توحيد الله وإنكار الشرك وإنكار البدع، لهم أساليب خاصة ينقصها عدم النشاط في الدعوة إلى الله وعدم التوجيه إلى العقيدة الصحيحة التي عليها أهل السنة والجماعة.
فينبغي للإخوان المسلمين أن تكون عنايتهم بالدعوة السلفية الدعوة إلى توحيد الله وإنكار عبادة القبور والتعلق بالأموات والاستغاثة بأهل القبور
وسُئل سؤالاً هذا نصه: حديث النبي ـ صلى الله عليه وسلم ـ في افتراق الأمم، قوله: "ستفترق أُمتي على ثلاث وسبعين فرقة كلها في النار إلا واحدة"، فهل جماعة التبليغ على ما عندهم من شركيات وبدع وجماعة الإخوان المسلمين على ما عندهم من تحزب وشق العصا على ولاة الأمور وعدم السمع والطاعة، هل هاتين من ضمن الاثنتين والسبعين؟
فأجاب: "من خالف عقيدة أهل السنة دخل في الاثنتين والسبعين، "أُمتي": هي أمة الإجابه الذين استجابوا له وأظهروا الاتباع عنهم له، فثلاثة وسبعين: فرقة ناجية سليمة التي اتبعته واستقامت على دينه، واثنتان وسبعون فرقة فيهم الكافر وفيهم العاصي وفيهم المبتدع أقسام".
ثم قال السائل: "فهل هاتين الفرقتين من ضمن الاثنتين والسبعين؟"
فقال الشيخ ابن باز: "إيه ـ أي نعم ـ من الاثنتين والسبعين،

แหล่งอ้างอิง

مجلة المجلة العدد ( 806 ) تاريخ 25/2/1416هـ، ص 24

หนังสือชื่อว่า อัลมะญั้ลละห์ ลำดับที่ 806วันที่ 25 เดือนซอฟัร ปีฮ.ศ.1416 หน้าที่ 24
เทปบันทึกเสียงในหัวข้อเรื่อง ถาม-ตอบ ของเชคอับดุลอะซีซ บิน บาซ
หนังสือ

الأجوبة المفيدة عن أسئلة المناهج الجديدة

ของ เชค ซอและห์ อิบนุ เฟาซาน หน้าที่ 115-116
#25
อิบนุ เญาซียฺ (เราะหิมะฮุลลอฮฺ) ได้กล่าวไว้ในหนังสือ

"تلبیس ابلیس

(เล่ห์มาร)" ว่า:
แรกสุดและเลวที่สุดของพวกคอวาริจญ์ คือ ษุล-คุวัยซะเราะฮฺ อัต-ตะมีมียฺ(จากบนีตะมีม)

ท่านอะบู สะอีด อัล-คุดรียฺ ได้กล่าวว่า
"อะลี บิน อะบี ฏอลิบ ได้ส่งทองคำห่อไว้ในด้วยกับหนังสัตว์ย้อมสีจากเยเมน ไปยังท่านรอซูลุลลอฮฺ และท่านก็ได้แบ่งให้กับ 4 คน คือ
1.ซัยดฺ อับ-คออิล,
2.อัล-อักเราะฮฺ อิบนุ ฮาบิส,
3.อุยัยนะฮฺ อิบนุ ฮิสนฺ
และ 4.อัล-กอมะฮฺ อิบนุ อุลาษะฮฺ

มีคนหนึ่งจากหมู่สาวก ได้อ้างว่าพวกเขามีสิทธิ์ที่จะได้ทรัพย์สินมากกว่าคนอื่น เมื่อเรื่องไปถึงท่านนบี (ศ.)
ท่านได้กล่าวว่า
"เจ้าจะไม่เชื่อใจฉัน ผู้ซึ่งพระผู้ทรงอยู่เบื้องบนเชื่อใจกระนั้นหรือ? วะฮียฺได้มายังฉันจากฝากฟ้า ยามเช้าและยามเย็น"

จากนั้น ชายจากเผ่า "ตะมีม" ที่มีดวงตาโหล โหนกแก้มสูง หน้าผากเถิก เคราหนา และโกนศีรษะ ได้ยืนขึ้น และกล่าวว่า "มุหัมมัด จงยำเกรงอัลลอฮฺ!"

ท่านนบี ได้หันไปยังเขา และตอบว่า
"ความวิบัติจงประสบแด่ท่าน ฉันไม่ใช่คนที่ยำเกรงอัลลอฮฺที่สุดหรอกหรือ?"

แล้วชายคนนั้นได้เดินจากไป และคอลิด บิน วะลีด ได้ลุกขึ้นชึ้ ไปที่ชายผู้นั้นและกล่าวว่า
"โอ้...รอซูลุลลอฮฺ ฉันขอตัดคอชายคนนี้ได้ไหม?"

แต่ท่านนบี ได้กล่าวว่า
"บางที เขาเป็นผู้ที่รักษาการละหมาด"

คอลิด จึงได้ตอบว่า
"บางที คนๆหนึ่งที่รักษาการละหมาด พูดด้วยกับลิ้นของเขา ในสิ่งที่ไม่ได้ออกมาจากหัวใจของเขา"

ท่านนบี(ศ.) จึงได้ตอบว่า
"ฉันไม่ได้ถูกสั่งใช้ให้ผ่าหัวใจของผู้คน หรือกรีดท้องของพวกเขา"

จากนั้นท่านได้ชำเลืองมองผู้คนที่กำลังเดินไปเดินมา และได้กล่าวว่า
"จะมีกลุ่มชน ที่มาจากวงศ์วานของชายคนนี้(บนีตะมีม) ผู้ซึ่งอ่านอัล-กุรอ่าน แต่ไม่พ้นคอ พวกเขาจะออกจากอิสลาม ดั่งลูกธนูออกพุ่งไปหาเป้า"
(บุคอรียฺและมุสลิม)

ชายผู้นั้นมีชื่อว่า ษุล-คุวัยซะเราะฮฺ อัต-ตะมีมียฺ (บนีตะมีม)
และเขาได้ถูกตัดสินว่า เป็นคอวาริจญ์คนแรกในอิสลาม
#26
"ชุอัยบฺ บิน ริบอียฺ อัต-ตะมีมียฺ" (จากบนีตะมีม) เป็นอะมีรของคอวาริจญ์คนแรก

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

ในช่วงเหตุการณ์ระหว่างมุอาวียะฮฺ และท่านอะลี ผู้ที่ติดตามมุอาวียะฮฺ ได้ชูอัล-กุรอ่านขึ้นด้วยกับหอก และเชิญชวนให้ผู้ที่ติดตามท่านอะลี ให้ตัดสินตามนี้

พวกเขาได้แนะนำให้ส่งตัวแทนของแต่ละฝ่ายมาพบกัน และตัดสินกันด้วยกับอัล-กุรอ่าน
ซึ่งทั้งสองฝ่ายต่างเห็นด้วย และฝ่าย มุอาวียะฮฺ ได้ส่ง อัมรฺ บิน อาส และฝ่ายท่านอะลี ได้ส่งท่านอะบู มูซา ซึ่งจริงๆแล้วท่านอะลี จะส่งท่านอิบนุ อับบาส แต่ผู้ที่ติดตามท่านได้กล่าวว่า พวกเขาไม่ต้องการผู้ใด ที่มาจากญาติของท่านอะลี ท่านจึงต้องส่งท่านอะบู มูซา อัล-อัชอารียฺ ไปแทน

การตัดสินได้ล่าช้าไปจนถึงเดือนรอมฎอน ในระหว่างนั้น ส่วนมากของผู้คน ได้ตัดสินใจบางสิ่งด้วยกับการตัดสินของอัลลอฮฺ ได้มีผู้ถามจากหมู่ของท่านอะลี ที่มีชื่อว่า อุรวะฮฺ บิน อุยัยนะฮฺ ได้กล่าวว่า
"การตัดสินมีเพียงแต่อัลลอฮฺ"

เมื่อท่านอะลี ได้ยกทัพกลับจากศิฟฟิน และเข้าไปยังเมืองกูฟะฮฺ ผู้ติดตามท่านประมาณ 12,000 คน ไม่ยอมเข้าไปในเมืองกับท่าน
พวกเขาตั้งค่าย อยู่ในเมืองหะรูเราะฮฺ และยกเสียงของพวกเขาประกาศสโลแกนว่า "การตัดสินมีแต่เพียงอัลลอฮฺ"

เหตุการณ์นี้ คือจุดกำเนิดของ "พวกคอวาริจญ์" ในลักษณะของกลุ่มเคลื่อนไหว พวกเขาได้แต่งตั้งให้ "ชุอัยบฺ บิน ริบอียฺ อัต-ตะมีมียฺ" เป็นอะมีรของพวกเขา
#27
จริงหรือไม่ที่อุลามาวะห์บีเชื่อว่าภรรยานบี(ศ.)ทำซินา

เหล่าบรรดาอุลามาอฺวะห์บีและลูกสมุน ชอบกล่าวหาว่า ชีอะห์กล่าวหาภรรยานบี(ศ.) ว่าทำซินา แต่ทว่าในความเป็นจริงเรากลับพบว่าอุลามาวะห์บีเองคือผู้ที่เชื่อและกล่าวร้ายภรรยานบีว่าเป็นหญิงชั่วทำซีนา อย่างเชคอัลบานี ชาวซีเรีย
อุลามาวะฮาบีผู้ได้รับสมญานามว่าเป็น "บุคอรีแห่งยุคสมัย" และมุฮำมัด นาศิร อัตตัรมานีนีย์ลูกศิษย์เชคอัลบานี ซึ่งประเด็นความเชื่อว่า ภรรยาท่านนบีมุฮำมัด (ศ.) และภรรยานบีท่านอื่นๆนั้นไม่ได้เป็นมะศูมบริสุทธิ์จาก ซินา ของอัลบานีนั้นเป็นที่โจษขานในโลกอิสลามอย่างมาก กระทั่ง มุฮำมัด นะซีบ อัรริฟาอีศิษย์อีกคนของอัลบานีรับไม่ได้กับความเชื่อนี้ จึงเขียนหนังสือขึ้นมาต่อต้านความเชื่ออัลบานีและอัตตัรมานีนีย์ผู้เป็นศิษย์ เพื่อปกป้องภรรยานบี(ศ.)

เชคอัลบานีกล่าวในตำรา
ของตนว่า

وإن کان وقوع ذلک ممکنا من الناحیة النظریة لعدم وجود نص باستحالة ذلک منهن ...

ในความเป็นจริงแล้วตามหลักทฤษฎี การทำซีนา นั้นคือสิ่งที่สามารถเป็นไปได้ เพราะท่านนบีไม่เคยรับรองว่าพวกนางบริสุทธิ์จากซินา
ซิลซิละฮ์ อัลฮะดีส อัศศอฮีฮะ เล่ม6 หน้า27 พิมพ์ริยาฏซาอุฯ

จากนั้นอัลบานีก็กล่าวว่าด้วยสาเหตุนี้ในเหตุการณ์ อิฟก์ ที่อาอีชะฮ์ถูกกล่าวหาว่าทำซินา ท่านศาสดาเองก็มีความคลางแคลงสงสัยในความบริสุทธิ์ของนาง ท่านจึงรอกระทั่งวะฮ์ยูได้ลงมา ซึงการกระทำนี้มันคือหลักฐานที่หนักแน่นว่า แท้จริงแล้วมีความเป็นไปได้ที่ภรรยาของนบีจะทำซินา

ففیه إشعار قوی بأن الأمر فی حد نفسه ممکن الوقوع ...

มันคือหลักฐานยืนยันที่หนักแน่นในเรื่องนี้ว่า มีความเป็นไปใด้(ที่ภรรยานบีจะทำซีนา)
ซิลซิละฮ์ อัลฮะดีส อัศศอฮีฮะ เล่ม6 หน้า27 พิมพ์ริยาฏ ซาอุฯ

อัรริฟาอี ศิษอัลบานีที่ต่อต้านความเชื่อนี้ได้บันทึกในตำราของตนว่า เขาได้ถามอัตตัรมานีนีย์ศิษอีกคนของอัลบานีที่เชื่อว่าภรรยานบีไม่บริสุทธิ์จากซินาว่า

یکون الرسول زوج قحبة ... ؟ قال نعم ممکن !!! وما المانع ...؟
نوال المنی فی اثبات عصمة امهات و زوجات الانبیاء من الزنی،ص69

ในทัศนะของท่านเป็นไปได้หรือที่ภรรยานบีจะเป็นหญิงชั่วทำซีนา?
เขาตอบว่า "ใช่ เป็นไปได้!!! แล้วมันมีปัญหาอย่างไรหรือ?
นะวาลุลมะนี หน้า 69

อัรริฟาอีกล่าวอีกว่า

أما سمعت محمد ناصر الترمانینی قال : ممکن أن یکون الرسول زوج قحبة ...
نوال المنی،ص69

ฉันได้ยินมาว่าอัตตัรมานีนีย์พูดว่า
"เป็นไปได้ที่ภรรยาศาสดา (มุฮำมัด) จะเป็นหญิงชั่ว"
แหล่งเดิม(นะวาลุลมะนี หน้า 69)

ฮะซันอัสสะกอฟอุลามาซุนนี คู่แค้นวะฮาบีก็กล่าวใน
หนังสือของตนว่า

الالبانی یقول بان امهات المومنین و زوجات الانبیاء غیر محفوظات من الزنا و الفاحشة ...
البشارة و الاتحاف،ص64

อัลบานีกล่าวว่า
"แท้จริงแล้วอุมมุลมุมินีนและภรรยาของนบีต่างๆนั้นไม่ได้ถูกปกป้องจากการประพฤติชั่วและทำซีนา"
อัลบิชาเราะฮ์ วัลอิลติฮาฟ หน้า 64

ในเรื่องความเป็นมะศูมจากการกระทำซินาของภรรยาทุกๆนบี (ศ.) นั้นคืออะกีดะฮ์ที่พ้องกันระหว่างซุนนีและชีอะห์แต่เป็นสิ่งที่ถกเถียงกันไม่จบระหว่างวะห์บีกับพี่น้องซุนนี

http://al7ewar.net/forum/showthread.php?17356-%C7%E1%CB%E3%D1-%C7%E1%CF%C7%E4%ED-%DD%ED-%CA%C8%D1%C6%C9-%C7%E1%D4%ED%CE-%C7%E1%C7%E1%C8%C7%E4%ED

อุลามาซุนนีเยเมนประณามความเชื่ออัลบานี



สรุป
ความเชื่อว่าภรรยานบี(ศ.) นั้นไม่บริสุทธิ์จากทำซินา คือหลักความเชื่อของวะห์บี
#28
-ท่านนบีมูฮัมมัด(ศ) ให้สตรี สวมชุดดำ เพื่อไว้อาลัยแด่ ญะอฺฟัร อัฏฏอยยาร

‎لما أصيب جعفر قال رسول الله (صلي الله عليه و سلم) لأسماء: تسلبي ثلاثا

"เมื่อญะอฺฟัร เป็น ชะฮีด ท่านรอซูลุลลอฮ์ (ศ) ได้กล่าวแก่ อัสมาอฺ ภรรยาของ ญะอฺฟัร ว่า

‎تسلبي ثلاثا

"จงสวมชุดดำไว้อาลัยสามวันเถิด"
อ้างอิง

‎-صحیح ابن حبان - کتاب الجنائز .. - فصل فی النیاحة و نحوها - ح 3227

การสวมชุดดำของเหล่าสตรี เพื่อไว้อาลัยแด่ ชะฮีด ฮัมซะฮ์
อิบนิมันซูร กล่าวว่า

‎و في حديث بنت أم سلمة: أنها بكت علي حمزه ثلاثة أيام و تسلبت

ท่านหญิงอุมมุซาลามะฮ์ ได้ร่ำไห้ และสวมชุดดำไว้อาลัย แด่ ท่านฮัมซะฮ์ เป็นเวลาสามวัน
อ้างอิง

‎-لسان العرب - حرف النون - نصا - ج 1، 473

อิบนิซะการียา ได้นิยามความหมายของคำว่า ตัสลีบ ว่า

‎التي يموت زوجها أو حميمها، فتسلب عليه و تسلبت المرأة إذا أحدت.

หมายถึง เสื้อผ้าที่ใส่ไว้อาลัย เมื่อคนหนึ่งคนใดจากคู่ครอง หรือ คนใกล้ตัวของนางเสียชีวิต
‎-مقاییس اللغة - ج 3 ص 93

-การสวมชุดไว้อาลัยของเหล่าสตรี การจากไปของรอซูลุลลอฮ์
ฮัซซาน บิน ซาบิต ศอฮาบะฮ์ท่านหนึ่ง กล่าวว่า

‎يا أفضل الناس! إني كنت في نهر *** أصبحت منه كمثل المفرد الصادي
‎أمسي نساؤك عطلن البيوت فما *** يضربن فوق قفا ستر بأوتاد
‎مثل الرواهب يلبسن المسوح قد *** أيقن بالبؤس بعد النعمة البادي

"โอ้มนุษย์ผู้ประเสริฐที่สุด แท้จริงข้านี้แหวกว่ายอยู่ในสายน้ำ การจากไปของเขา ดั่งมนุษย์ผู้โดดเดี่ยว กระหาย
สตรีของท่านได้ปล่อยบ้านไว้ และตะปูก็ไม่ติดกับกำแพง และพวกนางก็หมดอาลัย ไม่อาจทำงานในบ้าน
เปรียบสตรีเหล่านั้น ดั่งแม่ชี ที่ทิ้งโลก นางเหล่านั้น สวมผ้าดำคลุมกาย

‎-صفحه 67 ديوان حسان بن ثابت

-การสวมชุดดำของอิมามฮะซัน เพื่อไว้อาลัยแด่การเป็นชะฮีดของ อมีรุลมุอฺมีนีน อาลี (อ)
อบี ระซีน ได้รายงานรีวายะฮ์ โดยเขากล่าวว่า ภายหลังจากการจากไปของ อิมาม อาลี(อ)

‎خطبنا الحسن بن علي و عليه ثياب سود و عمامة سوداء.

ฮะซัน บิน อาลี(อ) ได้กล่าวคุตบะฮ์ ให้เราฟัง ในสภาพที่เขาสวมชุด และอามามะฮ์ดำคลุมกาย

อ้างอิง

‎-سیر اعلام النبلاء - ج 3 ص 267

-การสวมชุดดำของเหล่าสตรีเป็นเวลาหนึ่งปี เพื่อไว้อาลัย แด่การเป็นชะฮีดของอิมามฮูเซน(อ)

‎حد نساء الحسن بن علي سنة

อ้างอิง
‎-المستدرک علی الصحیحین - کتاب معرفة الصحابة.. - ذکر سنة وفاة الحسن (ع) - ح 4857

เครดิต : เชคมูฮัมมัด เอสกาน
#29
อบูบาซีร อ้างว่า คำว่า กัรร่อมัลลอฮุ วัจญะฮะฮู
ขออัลลอฮ์ให้เกียรติแก่ใบหน้าของอะลี(ที่ไม่เคยซุหยูดต่อรูปปั้นเลยตลอดชีวิต) คือ สิ่งที่ ชีอะฮ์ สร้างขึ้นจริงหรือ

ชีอะห์ตอบ
เรามาดูว่า อุละมาอ์ซุนนี่ ใครบ้าง ที่เวลาเอ่ยชื่อ ท่านอาลี แล้วคำต่อท้ายว่า "กัรร่อมัลลอฮุ วัจญะฮะฮู"

تفسير ابن عجيبة البحر المديد - (ج 1 / ص 9) وقال سيّدنا عليّ - كَرَّمَ الله وجهه - : ( الصراط المستقيم هنا القرآن )

ตัฟซีร อิบนิ อะญีบะฮ์ อัลบะห์รุล มาดีด

//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

التحرير والتنوير - (ج 7 / ص 215) وكما فعل عليّ كرّم الله وجهه في قتال الحروريّة الذين كفّروا المسلمين

ตัฟซีร อัตตะห์รีร วัตตันวีร

//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

الدر المنثور - (ج 8 / ص 248) عن علي بن أبي طالب كرّم الله وجهه سمعت رسول الله صلى الله عليه وسلم يقول : « إن لكل يوم نحساً ، فادفعوا نحس ذلك اليوم بالصدقة

ตัฟซีร ดุรรุล มันซูร

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

الكشف والبيان ـ للثعلبى - (ج 1 / ص 17) عن علي بن أبي طالب (كرّم الله وجهه) أنه كان إذا افتتح السورة في الصلاة يقرأ {بِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيمِ}

ตัฟซีร อัลกัชฟุ วัลบายาน

//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

النكت والعيون - (ج 3 / ص 491) عن علي كرم الله وجهه قال سئل رسول الله صلى الله عليه وسلم عن الصلاة الوسطى

ตัฟซีร อันนุกัต วัลอูยูน

//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

الوسيط لسيد طنطاوي - (ج 1 / ص 2454) عن علي - كرم الله وجهه - : " إنما أخشى عليكم اثنين : طول الأمل ، واتباع الهوى

ตัฟซีร อัลวาซีต ของซัยยิด ตอนตอวีย์

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

بحر العلوم للسمرقندي - (ج 1 / ص 210) عن علي بن أبي طالب كرم الله وجهه أنه قال : السنة والنوم ، كلاهما واحد

ตัฟซีร บะห์รุล อูลูม ของ สะมัรก็อนดีย์

//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

تفسير أبي السعود - (ج 1 / ص 166) قال علي كرم الله وجهه : «لا أبالي أسقطتُ على الموت أو سقط الموتُ عليّ»

ตัฟซีร อาบิซ ซูอู๊ด

/////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

تفسير الألوسي - (ج 3 / ص 111) قاله علي كرم الله وجهه { بَعْدَ ذَلِكَ } أي الميثاق والإقرار والتوكيد بالشهادة

ตัฟซีร รูฮูล มาอานี ของ อัลอาลูซีย์

//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

تفسير البغوي - (ج 4 / ص 352) عن علي كرم الله وجهه: الذين بدلوا نعمة الله كفرًا: هم كفار قريش نحروا يوم بدر

ตัฟซีร อัลบะฆอวีย์

//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

تفسير البيضاوي - (ج 5 / ص 278) عن على كرم الله وجهه إن في كتاب الله آية ما عمل بها أحد غيري

ตัฟซีร อัลบัยดอวีย์

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

تفسير الخازن - (ج 1 / ص 196) كان علي كرم الله وجهه إذا قرأ هذه الآية يقول اقتتلا ورب الكعبة

ตัฟซีร อัลคอซิน

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

تفسير الرازي - (ج 1 / ص 230) كان علي كرم الله وجهه يقول : ( كفى بي فخراً أن أكون لك عبداً ، وكفى بي شرفاً أن تكون لي رباً

ตัฟซีร อัลรอซีย์

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

تفسير السراج المنير - (ج 1 / ص 1843) قال عليّ بن أبي طالب كرّم الله وجهه: الأرض من فضة والسماء من ذهب

ตัฟซีร ซิรอยุล มูนีร

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

تفسير الطبري - (ج 23 / ص 572) عن عليّ بن أبي طالب كرّم الله وجهه، قال: "لم تنزل قطرة من ماء إلا بكيل على يدي مَلك؛

ตัฟซีร อัตต่อบารีย์

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

تفسير القرطبي - (ج 1 / ص 127) عن علي بن ابي طالب كرم الله وجهه انه قال في قوله بسم الله : انه شفاء من كل داء

ตัฟซีร กุรตูบีย์

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

ข้างบน คือ ตำรา ตัฟเซร ของฝ่ายซุนนี่ ทั้งสิ้น
ทีนี้มาดูตำรา ฮาดีส ที่อุละมาอ์ซุนนี่ เวลา เอ่ยถึง ท่านอาลี พวกเขาจะต่อท้ายว่า กัรร่อมัลลอฮุ วัจญะฮะฮู
หนึ่ง

شرح النووي على مسلم - (ج 1 / ص 38) أَنَّ عَلِيًّا - كَرَّمَ اللَّه وَجْهَهُ - فِي السَّحَاب فَلَا نَخْرُج يَعْنِي مَعَ مَنْ يَخْرُج مِنْ وَلَده حَتَّى يُنَادِيَ مِنْ السَّمَاء أَنْ اُخْرُجُوا مَعَهُ . وَهَذَا نَوْعٌ مِنْ أَبَاطِيلِهِمْ وَعَظِيمٌ مِنْ جَهَالَاتِهِمْ اللَّاصِقَةِ بِأَذْهَانِهِمْ السَّخِيفَة وَعُقُولهمْ الْوَاهِيَة .

ชัรฮุล นะวาวีย์ อะลา ซอเฮี๊ยะฮ์ มุสลิม ของอิหม่าม นะวาวีย์

สอง

عون المعبود - (ج 2 / ص 356) عَنْ عَلِيّ بْن أَبِي طَالِب كَرَّمَ اللَّه وَجْهه فِي الْجَنَّة أَنَّهُ قَالَ يَقْرَأ فِي الْأُولَيَيْنِ وَيُسَبِّح فِي الْأُخْرَيَيْنِ مِنْ طَرِيق الْحَارِث عَنْهُ .

เอานูล ม๊ะบู๊ด ชัรฮุ สุนัน อบีดาวูด

สาม

تحفة الأحوذي - (ج 4 / ص 49) عَنْ عَلِيٍّ كَرَّمَ اللَّهُ وَجْهَهُ أَنَّهُ كَانَ لَا يُوَرِّثُ الْإِخْوَةَ مِنْ الْأُمِّ

ตุห์ฟะตุล อะห์วาซีย์ บิชัรฮิ สุนัน ติรมิซีย์ ของอิหม่าม มูรอกฟูรีย์

สี่

شرح سنن ابن ماجه - (ج 1 / ص 170) فلذلك حكم كرم الله وجهه بثلثي الدية وهذا اجتهاد منه

ชัรฮุ สุนัน อิบนิมาญะฮ์ ของ อิหม่ามซะยูตีย์

ห้า

فيض القدير - (ج 1 / ص 17) قال علي كرم الله وجهه : " الحق لا يعرف بالرجال اعرف الحق تعرف أهله

ฟัยดุล กอเด็ร ของอิหม่าม มะนาวีย์

/////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

ทั้งหมดนี่คือข้อพิสูจน์ว่า อุละมาอ์ซุนนี่ เจ้าของตำราดัง ล้วน ใช้คำว่า กัรร่อมัลลอฮุ... ต่อท้ายชื่ออิมามอาลี
หาก สิ่งนี้ ไม่เป็นที่ยอมรับ อุละมาอ์ซุนนี่ดังกล่าว จะไม่เอ่ยเช่นนี้
แต่เนื่องจาก พวกวาฮาบี มีความอคติชิงชัง ต่อ ท่านอาลี เหมือนพวกอุมัยยะฮ์ ในอดีต จึงยอมรับ สิ่งนี้ไม่ได้ ด้วยเหตุผลเดียวคือ ไม่ชอบ ท่านอาลี

#30
กลุ่มวะฮาบีคือใครและทีมาที่ไปของชนกลุ่มน้อยนี้ใครคือผู้นำสูงสุดของชื่อนี้(วะฮ์บีกับชื่ออิบนุอับดุลวาฮาบ) และพวกที่เข่นฆ่าชาวอะฮ์ลิซซุนนะฮ์มากที่สุดก็คือวะฮ์บี
ท่านอิหม่าม อิบนุอาบิดีน อัลฮานาฟี ได้กล่าวในหนังสือ ร็อดดุล มุห์ตาร อะลัด ดุรริลมุคตาร เล่ม 4 หน้า 262 ในหัวข้อกิตาบ อัลบิฆอต ว่า

مطلب في أتباع ابن عبد الوهاب الخوارج في زماننا: قوله: "ويكفرون أصحاب نبينا (ص)"

เนื้อหาเกี่ยวกับพวกที่ปฏิบัติตามอิบนุ อับดุลวะฮาบ ซึ่งเป็นค่อวาริจญ์ในสมัยของเรา คำพูดของค่อวาริจญ์คือ พวกเขาจะตักฟีรบรรดาสาวกของท่านนบี(ศ)ของเรา

علمت أن هذا غير شرط في مسمى الخوارج، بل هو بيان لمن خرجوا على سيدنا علي رضي الله تعالى عنه،

ฉันรู้ว่า นี่ไม่ใช่เงื่อนไขในการเรียกชื่อค่อวาริจญ์ แต่มันคือคำอธิบายแก่พวกที่ออกนอก(การเชื่อฟัง)ต่อท่านสัยยิดินาอาลี (ร.ฎ.)

والا فيكفي فيهم اعتقادهم كفر من خرجوا عليه، كما وقع في زماننا في أتباع محمد بن عبد الوهاب الذين خرجوا من نجد وتغلّبوا على الحرمين

เว้นแต่ว่า เพียงพอแล้วในหมู่พวกเขาที่ว่า พวกเขามีความเชื่อว่า ต้องตักฟีรผู้ที่ออกนอก(แนวคิดของ)เขา เหมือนที่ได้เกิดขึ้นในสมัยของเราในหมู่พวกที่ปฏิบัติตามมุฮัมมัด บินอับดุลวะฮาบ พวกเขาออกมาจากเมืองนัจญ์ดี และมีอำนาจปกครองฮะรอมทั้งสอง(คือมักกะฮ์และมะดีนะฮ์)

وكانوا ينتحلون مذهب الحنابلة، لكنهم اعتقدوا أنهم هم المسلمون وأن من خالف اعتقادهم مشركون

พวกเขาอ้างตนว่าถือมัซฮับฮัมบาลี แต่พวกเขาเชื่อว่า พวกเขาคือมุสลิม และผู้ที่ขัดแย้งต่อความเชื่อของพวกเขานั้นคือ พวกมุชริก

واستباحوا بذلك قتل أهل السنّة قتل علمائهم حتى كسر الله شوكتهم وخرب بلادهم وظفر بهم عساكر المسلمين عام ثلاث وثلاثين ومائتين وألف". ا.هـ

ด้วยเหตุนี้ พวกเขาได้อนุญาตให้เข่นฆ่าชาวอะฮ์ลุซซุนนะฮ์ เข่นฆ่าอุละมาอ์ของอะฮ์ลุซซุนนะฮ์ จนอัลลอฮ์ทรงทำให้ขวากหนามของพวกเขาแตกหัก และทรงทำลายบ้านเมืองของพวกเขา และกองทัพมุสลิมได้มีชัยต่อพวกเขาในปีฮิจเราะฮ์ศักราชที่ 1233

وَالَّذِينَ يُؤْذُونَ الْمُؤْمِنِينَ وَالْمُؤْمِنَاتِ بِغَيْرِ مَا اكْتَسَبُوا فَقَدِ احْتَمَلُوا بُهْتَانًا وَإِثْمًا مُّبِينًا

(ซูเราะหฺอัลอะฮฺซาบ - 58)
"และบรรดาผู้กล่าวร้ายแก่บรรดาผู้ศรัทธาชายและบรรดาผู้ศรัทธาหญิง ในสิ่งที่พวกเขามิได้กระทำ แน่นอนพวกเขาได้แบกการกล่าวร้าย และบาปอันชัดแจ้งไว้"
พระศาสดาแห่งอิสลาม
ทรงพระดำรัสว่า

من قال: اني خيرالناس فهومن شرالناس ومن
قال: اني في الجنة فهو في النار،

"บุคคลใดที่กล่าวว่า ฉันคือผู้ที่ดีเลิศ( ดีกว่าบุคคลอื่นๆ)ในหมู่ประชาชาติ เขาคือผู้ที่เลวสุดคนหนึ่งในหมู่ประชาชาตินั้น และบุคคลใดที่กล่าวว่า ฉันคือชาวสวรรค์ ดังนั้นเขาคือ ชาวนรก"

( النوادرللراونزي، ص 107)
لاير مي رجل رجلا بالفسوق ولا يرميه بالكفر الا ارتدت عليه ان لم يكن صا حبه كذ لك

"คนใดก็ตามจะไม่ใส่ร้ายผู้อื่นด้วยข้อหาว่าชั่ว และจะไม่ใส่ร้ายผู้อื่นด้วยข้อหา กาเฟร(ผู้ปฏิเสธ)นอกจากผู้กล่าวหาจะ ตกศาสนา เอง หากผู้ถูกกล่าวหามิได้เป็นเช่นนั้น"
บันทึกโดย บุคคอรี ฮาดีษเลขที่ 5585

มีหนังสือเล่มหนึ่งที่เขียนถึงเรื่องนี้ ซึ่งท่านเป็นมุฟตีของนครมักกะฮ์เสียชีวิต 1304 ฮ.ศ ในหนังสือ

"کتاب الدرر السنية"

เล่ม1 หน้า 64 ท่านกล่าวไว้ในหนังสือเล่มนี้ว่า
"มุฮัมมัด บิน อับดุลวะฮ์ฮาบ ผู้ก่อตั้งลัทธิวะฮ์บี ได้ประกาศไว้ว่า มุสลิมทั้งหมด (จะอยู่ในมัซฮับชาฟีอี มาลีกี ฮานาฟี ฮัมบาลี ชีอะห์ หรือซัยดียะและ.....) คือกาเฟร และมุชริกหมด และกฎนี้ยังรวมถึงอุลามาในอดีตด้วยเช่นกัน

ฉะนั้นหากใครต้องการจะเป็นมุสลิมจะต้องกล่าว 5 คำปฏิญาณตนก่อน คำปฏิญาณนั้น คือ
1. ปฏิญาณตนในความเป็นเอกะของพระองค์อัลลอฮ์
2. ปฏิญาณตนยอมรับการเป็นรอซูลของท่านนบีมุฮัมมัด (ศ็อลฯ)
3.ปฏิญาณตนว่าก่อนหน้านี้เคยตกอยู่ในสภาพ "มุชริก" มาก่อน แต่ด้วยกับการยอมรับในหลักการของวะฮ์บีจึงได้เป็นมุสลิมอีกอีกครั้ง!!!!!
4. ปฏิญาณตนยอมรับว่าบิดามารดาที่ตายไปโดยไม่ยอมรับในหลักการของวะฮ์บีเขาตายในสภาพที่เป็นมุชริก!!!!!!
5. ปฏิญาณตนว่าอุลามที่เสียชีวิตไปโดยไม่ได้อยู่ในแนวความเชื่อวะฮ์บีเขาตายไปในสภาพมุชริกและให้สัตสาบานว่าเราไม่มีสิทธ์ที่จะขอการอภัยโทษให้แก่พวกเขาด้วยทั้งสิ้นจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม

ด้วยเหตุนี้จึงมีการบันทึกไว้ว่าเมื่อครั้งที่พวกวะฮ์บีได้เข้ายึดครองนครมักกะฮ์ได้เป็นผลสำเร็จ พวกเขาได้ฆ่าสังหารอุลามาซุนนี่เป็นพันๆคนด้วยข้อหาที่ว่าพวกเขาคือ กาเฟร และตกอยู่ในสภาพที่เป็น มุชริก อีกทั้งยังเป็นตัวขัดขวางความก้าวหน้าแนวความคิดของวะฮ์บี อีกทั้งข้อหาในการเป็นชิริกเพราะว่าพวกเขามีความเชื่อเหมือนกันว่า เราสามารถตะวัซซุลกับท่านนบีได้ เชื่อในเรื่องชะฟาอัต และการเยี่ยมเยือนหลุมฝังศพของท่านนบีและเอาลิยาทั้งหมดถือว่าเป็นการอนุญาติตามหลักชะริอัตของอิสลามนี้คือคำกล่าวของอุลามาซุนนี่ที่พวกเขาสะท้อนให้เห็นถึงแนวความเชื่อของพวกวะฮ์บีตักฟีรี และความป่าเถื่อนที่พวกเขาได้ทำกับผู้รู้ในศาสนานี้ครับไม่ว่าเขาจะเป็นซุนนี่หรือเป็นชีอะห์แม้แต่มัสหับก็ตามที(และนี้ก็คือสี่พู้นำชุนนะห์ดอลาละซาอุ)

ท่านอิมามมาลิก รอฮิมาฮุลลอฮ์ ได้กล่าวว่า

"มีคนอยู่ 4 ประเภทที่ห้ามศึกษาหาความรู้จากเขาเหล่านั้น

1. อย่าศึกษาหาความรู้จากคนที่โง่เขลาเบาปัญญา เนื่องจากพวกเขาชอบพูดโดยไม่มีพื้นฐานและความรู้ในสิ่งที่ตนเองพูด

2. อย่าศึกษาหาความรู้จากคนที่ชอบทำตามอารมณ์นัฟซูของตนเอง เพราะเขาเหล่านี้จะใช้ความรู้ที่มีอยู่เพื่อสนองความต้องการของนัฟซูเขาเท่านั้น

3. อย่าศึกษาหาความรู้จากคนที่ชอบโกหก เพราะคุณลักษณะของการโกหกคือเนื้อแท้ของบาปกรรมความชั่วทั้งหลาย

4. อย่าศึกษาหาความรู้จากคนที่ไม่เข้าใจในสิ่งที่เขาได้เผยแพร่ถ่ายทอดออกไป