ข่าว:

SMF - Just Installed!

Main Menu
Menu

Show posts

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.

Show posts Menu

Messages - L-umar

#2101
อิบนุหิบบานยืนยันว่า กุรอ่านสูญหายบางอายัต
อิบนุหิบบาน มุหัดดิษซุนนี่ (มรณะฮ.ศ.354 ) ยืนยันว่า กุรอ่านสูญหายบางอายะฮ์

عن عَاصِمِ بْنِ أَبِي النَّجُودِ عَنْ زِرٍّ (يَعْنِي ابْنَ حُبَيْشٍ) عن أبي بن كعب قال : كَانَتْ سُورَةُ الأَحْزَابِ تُوَازِي سُورَةَ الْبَقَرَةِ ، فَكَانَ فِيهَا : الشَّيْخُ وَالشَّيْخَةُ ، إِذَا زَنَيَا ، فَارْجُمُوهُمَا الْبَتَّةَ.
قال شعيب الأرنؤوط : عاصم بن أبي النجود صدوق له أوهام وحديثه في الصحيحين مقرون وباقي السند ثقات على شرط الصحيح
صحيح ابن حبان ج 10  ص 273  ح : 4428  لأحاديث مذيلة بأحكام شعيب الأرنؤوط عليها
จากอาศิม บินอบิน-นะญูด จากท่านอุบัย บินกะอับเล่าว่า : เดิมซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบนั้นมีขนาด(คือมีจำนวน)เท่าซูเราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์ ในนั้นมีโองการ ชายชราและหญิงชรา เมื่อทั้งสองทำซีนา ดังนั้นจงขว้างเขาทั้งสอง(ด้วยหิน)
เศาะหี๊หฺ อิบนุหิบบาน หะดีษที่ 4428  เชคชุเอบ อัลอัรนะอูฐตรวจสอบแล้วเป็นหะดีษเศาะหี๊หฺ

ประวัติอิบนุหิบบาน
ชื่อมุหัมมัด บินหิบบาน อัลบุสตีย์ เป็นอิหม่าม, อัลลามะฮ์, หาฟิซ, นักตัจญ์วีด, เชคแห่งคูรอซาน,มุหัดดิษ,นักตารีค,เจ้าของหนังสือที่โด่งดัง  ฟังหะดีษจากนะซาอี,อัลหะสัน บินสุฟยานและอบูยะอ์ลา...
อาลิมซุนนี่กล่าวเองว่า ซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบแต่ก่อนมีอายะฮ์นี้
الشَّيْخُ وَالشَّيْخَةُ ، إِذَا زَنَيَا ، فَارْجُمُوهُمَا
แต่ปัจจุบันอายัตนี้หาไม่พบและยังมีอีกร้อยกว่าอายะฮ์ที่สูญหายไป ตามที่หะดีษข้างต้นระบุ

คำถามสำหรับซุนนี่  
1.   โองการดังกล่าวหายไปไหน ?
2.   หากอ้างว่า  ถูกยกเลิก  กรุณา ชี้แจงรายละเอียดด้วยว่า โดนยกเลิกไปด้วยสาเหตุอะไร  และหนังสือเล่มไหนที่กล่าวรายละเอียดเรื่องนี้เอาไว้
#2102
สิยูฏีนักตัฟสีรซุนนี่กล่าวว่า กุรอ่านสูญหาย

قَالَ حَدَّثَنَا ابْنُ أَبِي مَرْيَمَ عَنْ ابْنِ لَهِيعَةَ عَنْ أَبِي الْأَسْوَدِ عَنْ عُرْوَةَ بْنِ الزُّبَيْرِ عَنْ عَائِشَةَ قالت :
كَانَتْ سُورَةُ الْأَحْزَابِ تُقْرَأُ فِيْ زَمَنِ النَّبِيِّ مائتي آية فَلَمَّا كَتَبَ عُثْمَانُ الْمَصَاحِفَ لَمْ يَقْدِرْ مِنْهَا إِلاَّ عَلَى مَا هُوَ الْآن  
كتاب : الإتقان في علوم القران للسيوطي ج 2 ص 66 ح : 4118
จากอุรวะฮ์ บินซุเบร จากท่านหญิงอาอิชะฮ์เล่าว่า :
เดิมทีซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ( บทที่ 33 ) ที่เราเคยอ่านกันในสมัยท่านนบี(ศ็อลฯ)มีจำนวน 200 โองการ(อายัต)
ต่อมาเมื่อท่านอุษมานได้รวบรวมมุศฮัฟ(กุรอ่านฉบับ)ต่างๆ เราไม่สามารถ(หาเจอ)จากอายะฮ์เหล่านั้น นอกจากที่มันมีอยู่ตอนนี้
อัลอิตกอน ฟีอุลูมิลกุรอ่าน โดยอัสสิยูฏีย์ เล่ม 2 : 66 หะดีษที่ 4118

อัลกุรอานฉบับปัจจุบันซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบมีจำนวน 73 โองการ  หะดีษข้างต้นระบุว่าเดิมมันมีจำนวนเท่ากับซูเราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์คือ 286 อายะฮ์แสดงว่ามี  127 อายะฮ์สูญหายไปจากซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ

คำถามสำหรับซุนนี่  
1.   แล้วอีก 127 โองการของซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ หายไปไหน ?
2.   หากอ้างว่า  ถูกยกเลิก  กรุณา ชี้แจงรายละเอียดด้วยว่า โดนยกเลิกไปด้วยสาเหตุอะไร  และหนังสือเล่มไหนที่กล่าวรายละเอียดเรื่องนี้เอาไว้
#2103
อัลกุรตุบีย์นักตัฟสีรซุนนี่กล่าวว่า    มีกุรอ่านสูญหาย


وَرَوَى زِرٌّ قَالَ : قَالَ لِيْ أُبَيُّ بْنُ كَعْبٍ :
كَمْ تَعُدُّوْنَ سُوْرَةَ الْأَحْزَابِ ؟  قُلْتُ : ثَلاَثًا وَسَبْعِيْنَ آيَةً قَالَ : فَوَالَّذِيْ يَحْلِفُ بِهِ أُبَيُّ بْنُ كَعْبٍ أَن كَانَتْ لَتَعْدِلُ سُوْرَةَ الْبَقَرَةِ أَوْ أَطْوَل
تفسير القرطبي  ج 14 ص 104
 
ซิรรินรายงานว่า ท่านอุบัย บินกะอับกล่าวกับฉันว่า :  พวกท่านนับจำนวน(อายัตของ)ซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ( บทที่ 33 ) ได้เท่าไหร่ ?
ซิรรินตอบว่า ได้ 73 โองการ(อายัต)
เขากล่าวว่า อุบัยขอสาบานต่อพระองค์(อัลลอฮ์)ว่า มัน(ซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ)นั้นมีจำนวนเท่ากับซูเราะฮ์บะเกาะเราะฮ์หรือมีความยาวมากกว่านั้นอีก...
ตัฟสีรกุรตุบีย์ โดยอัลกุรตุบีย์ เล่ม 14 : 104

ซูเราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์มีจำนวน  : 286  โองการ
อัลกุรตุบีรายงานว่า ซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบมีจำนวนเท่ากับซูเราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์
แสดงว่า  มี 213 โองการสูญหายไปจากซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ
 

คำถามสำหรับซุนนี่  
1.   แล้วอีก 213 โองการของซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ หายไปไหน ?
2.   หากอ้างว่า  ถูกยกเลิก  กรุณา ชี้แจงรายละเอียดด้วยว่า โดนยกเลิกไปด้วยสาเหตุอะไร  และหนังสือเล่มไหนที่กล่าวรายละเอียดเรื่องนี้เอาไว้
#2104
ซุนนี่กล่าวว่า   213 โองการจากซูเราะฮ์อะห์ซาบหายไป
อันนะสะฟีย์  นักตัฟสีรซุนนี่กล่าวว่า อัลกุรอานถูกตะห์รีฟ(ถูกแก้ไข)

قَالَ أُبَيُّ بْنُ كَعْبٍ رضي الله عنه لِزِرٍّ : كَمْ تَعُدُّونَ سُورَةَ الْأَحْزَابِ ؟ قَالَ : ثَلَاثًا وَسَبْعِينَ  . قَالَ : فَوَالَّذِيْ يَحْلِفُ بِهِ أُبَيُّ إِن كَانَتْ لَتَعْدِلُ سُوْرَةَ الْبَقَرَةِ أَوْ أَطْوَل...
تفسير النسفي ج 3 ص 120
ท่านอุบัย บินกะอับกล่าวกับซิรรินว่า :  พวกท่านนับจำนวน(อายัตของ)ซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ( บทที่ 33 ) ได้เท่าไหร่ ?
ซิรรินตอบว่า : ได้ 73 โองการ(อายัต)
เขากล่าวว่า อุบัยขอสาบานต่อพระองค์(อัลเลาะฮ์)ว่า มัน(ซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ)นั้นมีจำนวนเท่ากับซูเราะฮ์บะเกาะเราะฮ์หรือมีความยาวมากกว่านั้นอีก...
อ้างอิงจากตัฟสีรนะสะฟี โดยอันนะสะฟี   เล่ม 3 : 120  ดูบทที่ 33

ข้อมูลอัลกุรอานนั้นมี 114 บท (ซูเราะฮ์)  มี 6,236 โองการ (อายะฮ์)
ปัจจบันซูเราะฮ์บะเกาะเราะฮ์มีจำนวน  : 286  โองการ

นักตัฟสีรซุนนี่กล่าวว่า ซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบมีจำนวนเท่ากับซูเราะฮ์บะเกาะเราะฮ์

คำถามสำหรับซุนนี่  
1.   แล้วอีก 213 โองการของซูเราะฮ์อัลอะห์ซาบ หายไปไหน ?
2.   หากอ้างว่า  ถูกยกเลิก  กรุณา ชี้แจงรายละเอียดด้วยว่า โดนยกเลิกไปด้วยสาเหตุอะไร  และหนังสือเล่มไหนที่กล่าวรายละเอียดเรื่องนี้เอาไว้
#2105
อิหม่ามมาลิก หัวหน้ามัซฮับมาลิกีรายงานว่า  ท่านอุมัร บินค็อฏฏ็อบ ดื่มไวน์


1586 - وَحَدَّثَنِي عَنْ مَالِكٍ، عَنْ يَحْيَى بْنِ سَعِيدٍ، عَنْ عَبْدِ الرَّحْمَنِ بْنِ الْقَاسِمِ : أَنَّ أَسْلَمَ مَوْلَى عُمَرَ بْنِ الْخَطَّابِ أَخْبَرَهُ، أَنَّهُ زَارَ عَبْدَ اللَّهِ بْنَ عَيَّاشٍ الْمَخْزُومِيَّ, فَرَأَى عِنْدَهُ نَبِيذاً وَهُوَ بِطَرِيقِ مَكَّةَ، فَقَالَ لَهُ  أَسْلَمُ إِنَّ هَذَا الشَّرَابَ يُحِبُّهُ عُمَرُ بْنُ الْخَطَّابِ، فَحَمَلَ عَبْدُ اللَّهِ بْنُ عَيَّاشٍ قَدَحاً عَظِيماً، فَجَاءَ بِهِ إِلَى عُمَرَ بْنِ الْخَطَّابِ فَوَضَعَهُ فِي يَدَيْهِ، فَقَرَّبَهُ عُمَرُ إِلَى فِيهِ، ثُمَّ رَفَعَ رَأْسَهُ فَقَالَ عُمَرُ : إِنَّ هَذَا لَشَرَابٌ طَيِّبٌ، فَشَرِبَ مِنْهُ،
الكتاب : موطأ الإمام مالك  المؤلف : مالك بن أنس  ج 2 ص 894
الناشر : دار إحياء التراث العربي – مصر   تحقيق : محمد فؤاد عبد الباقي
อับดุลเลาะฮ์ บินอัลกอสิมรายงาน :
แท้จริงอัสลัมคนรับใช้ท่านอุมัร บินค็อฏฏ็อบเล่าให้ฟังว่า  แท้จริงเขาได้ไปเยี่ยมอับดุลเลาะฮ์ บินอัยยาช อัลมัคซูมีย์  เขา(อัสลัม)เห็นเหล้าไวน์มีอยู่ที่อับดุลเลาะฮ์  ซึ่งขณะนั้นเขาอยู่ในเส้นทางมักกะฮ์  
อัสลัมกล่าวกับอับดุลเลาะฮ์ว่า เครื่องดื่มนี้ท่านอุมัรบินค็อฏฏอบชอบมัน  อับดุลเลาะฮ์บินอัยยาชจึงแบกไหไวน์ใหญ่ใบหนึ่งไป   แล้วเขานำมันไปให้ท่านอุมัร บินค็อฏฏ็อบ  เขาวางไหตรงหน้าท่านอุมัร   แล้วท่านอุมัรได้เอามันเข้ามาแนบชิดที่ปากเขา  จากนั้นเขาได้เงยศรีษะ  แล้วท่านอุมัรกล่าวว่า นี่เป็นเครื่องดื่มชั้นดี  แล้วเขา(ท่านอุมัร)ได้ดื่มมัน
หนังสืออัลมุวัฏเฏาะอฺ  อิหม่ามมาลิก  หะดีษที่ 1586  

อัฏ-ฏิลาอ์  คือไวน์องุ่น
والطِلاء: ما طُبخ من عصير العنب حتَّى ذهب ثلثاه، وبعض العرب يسمِّي الخمر الطِلاء
الصحاح في اللغة    المؤلف الجوهري ج 1 ص 429
อัฏฏิลาอ์ คือน้ำผลไม้องุ่นที่เอามาต้มจนระเหยไปสามส่วน ชาวอรับบางคนเรียกสุราว่า ฏิลาอ์
หนังสืออัศศิห๊าหุ ฟิลลุเฆาะฮ์  โดยอัลเญาฮะรีย์  เล่ม 1 : 429

คำถามสำหรับซุนนี่   ท่นต้องเลือกตอบข้อใดข้อหนึ่งคือ
1.   ท่านอุมัรดื่มจริง หรือ
2.   นักรายงานซุนนี่ร่วมหัวกันโกหกใส่ร้าย ท่านอุมัร
3.   ถ้าท่านอุมัรดื่มจริง ก็ถือว่าทำสิ่งหะร่าม   เพราะอัลลอฮ์ตรัสว่า
يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آَمَنُوا إِنَّمَا الْخَمْرُ وَالْمَيْسِرُ وَالْأَنْصَابُ وَالْأَزْلَامُ رِجْسٌ مِنْ عَمَلِ الشَّيْطَانِ فَاجْتَنِبُوهُ لَعَلَّكُمْ تُفْلِحُونَ (90)
إِنَّمَا يُرِيدُ الشَّيْطَانُ أَنْ يُوقِعَ بَيْنَكُمُ الْعَدَاوَةَ وَالْبَغْضَاءَ فِي الْخَمْرِ وَالْمَيْسِرِ وَيَصُدَّكُمْ عَنْ ذِكْرِ اللَّهِ وَعَنِ الصَّلَاةِ فَهَلْ أَنْتُمْ مُنْتَهُونَ (91)
ความหมาย   ( โอ้บรรดาผู้มั่นในศรัทธาทั้งหลายที่จริงแล้วทั้งสุราและการพนันและการเส้นสังเวยบูชาโและการเสี่ยงติ้วเป็นสิ่งโสมม ( อบายมุข ) อันเป็นผลงานจากซาตาน ( ชัยฏอน ) ดังนั้นพวกเจ้าจงหลีกเลี่ยงให้ไกลเสีย เพื่อพวกเจ้าเองจักได้รับชัย   ที่จริงแล้วซาตาน ( ชัยฏอน )  ต้องการเพียงแค่ยุแหย่ให้เกิดความเป็นอริศัตรูกัน , ความโกรธเกลียดกันในระหว่างพวกเจ้า  และมันยังคอยแต่จะทำให้พวกเจ้าหันเหออกจากการระลึกถึงอัลลอฮ์ และการละหมาด   เช่นนี้แล้วพวกเจ้าจะยุติไหม ?   )   ( จากบทอัลมาอิดะฮ์   โองการที่ 90 - 91 )

อัลค็อมรุ ( خَمْرٌ   ) ในอดีตจะหมายถึงเหล้าหรือน้ำเมาที่เกิดจากการหมักผลไม้เท่านั้น
ท่านรอซูลกล่าวว่า
كُلُّ مُسْكِرٍ خَمْرٌ وَكُلُّ خَمْرٍ حَرَامٌ
ทุกสิ่งที่ออกฤทธิ์ทำให้มึนเมาถือเป็นเหล้า  และทุกสิ่งที่ถือเป็นเช่นเหล้าย่อมบาปเหมือนกันหมด    
เศาะหิ๊หฺ อิบนุมาญฮ์   หะดีษที่ 3381     ตรวจทานโดยเชคอัลบานี
        การดื่มเหล้าและเสพสิ่งออกฤทธิ์ทำให้เมาถือเป็นบาปทุกกรณี ไม่ว่าจะดื่มมากหรือดื่มน้อย เสพมากหรือเสพน้อย เมาหรือไม่เมา  เพราะท่านรอซูลให้ถือการดื่มเสพเป็นเกณฑ์ ท่านรอซูลกล่าวเป็นโอวาทว่า
" เมื่อปริมาณมากทำให้เมาได้ การเสพเพียงน้อยนิด - โดยไม่เมา - ก็เป็นบาปเหมือนกัน  "      จากบันทึกของอะหมัด,อาบีดาวู๊ด,อัดติรมิซีย์และอิบนิมาญฮ์
           การดื่มน้ำเมาถือเป็นกระทงความผิดตามกฎหมายอาญาในอิสลาม และอยู่ในประเภทคดีใหญ่ (كبائر   กะบาอิร หรือมหันตโทษ ) เป็นคดีความผิดทั้งในโลกดุนยานี้และโลกอาคิเราะฮ์

ชะรอบ เครื่องดื่ม,เหล้าไวน์
اسْمُ الشَّرَابِ يَنْطَلِقُ مِنْ جِهَةِ اللُّغَةِ عَلَى كُلِّ مَشْرُوبٍ مُسْكِرٍ وَغَيْرِهِ
ชะรอบคือชื่อที่ใช้เรียกในทางภาษากับ เครื่องดื่มทุกชนิดที่จัดอยู่ในประเภทมืนเมาและอื่นๆ
หากสิ่งที่มุอาวียะฮ์ดื่มไม่ใช่ไวน์ บิดาของอับดุลเลาะฮ์บินบุร็อยดะฮ์จะไม่กล่าวว่า เขาไม่ได้ดื่มอีกเลยหลังจากที่ท่านรอซูลฯสั่งห้ามดื่มเพราะหะร่าม.
#2106
ซุนนี่รายงานว่า อบูญุหัยฟะฮ์ดื่มไวน์

อิบนุอบีชัยบะฮ์ มุหัดดิษซุนนี่รายงานว่า   อบูญุหัยฟะฮ์ วะฮับ บินอับดุลเลาะฮ์ ดื่มไวน์

24035 - حَدَّثَنَا أَبُو بَكْرٍ قَالَ حَدَّثَنَا وَكِيعٌ عَنْ طَلْحَةَ بْنِ جَبْرٍ قَالَ رَأَيْتُ أَباَ جُحَيْفَةَ يَشْرَبُ الطِّلاَءَ عَلَى النِّصْفِ

مصنف ابن أبي شيبة  ج 5 س 94
المؤلف : أبو بكر عبد الله بن محمد بن أبي شيبة الكوفي
الناشر : مكتبة الرشد - الرياض
الطبعة الأولى ، 1409  تحقيق : كمال يوسف الحوت
อบูบักรเล่าให้เราฟัง  เขากล่าวว่า วะกี๊อฺเล่าให้เรา  จากฏ็อลหะฮ์ บินญับรินเขากล่าวว่า ฉันเห็นอบูญุหัยฟะฮ์ดื่มไวน์ครึ่งหนึ่ง
หนังสือมุศ็อนนัฟ โดยอิบนุอบีชัยบะฮ์   หะดีษที่ 24035

อัฏ-ฏิลาอ์  คือไวน์องุ่น
والطِلاء: ما طُبخ من عصير العنب حتَّى ذهب ثلثاه، وبعض العرب يسمِّي الخمر الطِلاء
الصحاح في اللغة    المؤلف الجوهري ج 1 ص 429
อัฏฏิลาอ์ คือน้ำผลไม้องุ่นที่เอามาต้มจนระเหยไปสามส่วน ชาวอรับบางคนเรียกสุราว่า ฏิลาอ์
หนังสืออัศศิห๊าหุ ฟิลลุเฆาะฮ์  โดยอัลเญาฮะรีย์  เล่ม 1 : 429

คำถามสำหรับซุนนี่   ท่นต้องเลือกตอบข้อใดข้อหนึ่งคือ
1.   อบูญุหัยฟะฮ์ดื่มจริง หรือ
2.   นักรายงานซุนนี่ร่วมหัวกันโกหกใส่ร้าย อบูญุหัยฟะฮ์
3.   ถ้าอบูญุหัยฟะฮ์ดื่มจริง ก็ถือว่าทำสิ่งหะร่าม   เพราะอัลลอฮ์ตรัสว่า
يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آَمَنُوا إِنَّمَا الْخَمْرُ وَالْمَيْسِرُ وَالْأَنْصَابُ وَالْأَزْلَامُ رِجْسٌ مِنْ عَمَلِ الشَّيْطَانِ فَاجْتَنِبُوهُ لَعَلَّكُمْ تُفْلِحُونَ (90)
إِنَّمَا يُرِيدُ الشَّيْطَانُ أَنْ يُوقِعَ بَيْنَكُمُ الْعَدَاوَةَ وَالْبَغْضَاءَ فِي الْخَمْرِ وَالْمَيْسِرِ وَيَصُدَّكُمْ عَنْ ذِكْرِ اللَّهِ وَعَنِ الصَّلَاةِ فَهَلْ أَنْتُمْ مُنْتَهُونَ (91)
ความหมาย   ( โอ้บรรดาผู้มั่นในศรัทธาทั้งหลายที่จริงแล้วทั้งสุราและการพนันและการเส้นสังเวยบูชาโและการเสี่ยงติ้วเป็นสิ่งโสมม ( อบายมุข ) อันเป็นผลงานจากซาตาน ( ชัยฏอน ) ดังนั้นพวกเจ้าจงหลีกเลี่ยงให้ไกลเสีย เพื่อพวกเจ้าเองจักได้รับชัย   ที่จริงแล้วซาตาน ( ชัยฏอน )  ต้องการเพียงแค่ยุแหย่ให้เกิดความเป็นอริศัตรูกัน , ความโกรธเกลียดกันในระหว่างพวกเจ้า  และมันยังคอยแต่จะทำให้พวกเจ้าหันเหออกจากการระลึกถึงอัลลอฮ์ และการละหมาด   เช่นนี้แล้วพวกเจ้าจะยุติไหม ?   )   ( จากบทอัลมาอิดะฮ์   โองการที่ 90 - 91 )

อัลค็อมรุ ( خَمْرٌ   ) ในอดีตจะหมายถึงเหล้าหรือน้ำเมาที่เกิดจากการหมักผลไม้เท่านั้น
ท่านรอซูลกล่าวว่า
كُلُّ مُسْكِرٍ خَمْرٌ وَكُلُّ خَمْرٍ حَرَامٌ
ทุกสิ่งที่ออกฤทธิ์ทำให้มึนเมาถือเป็นเหล้า  และทุกสิ่งที่ถือเป็นเช่นเหล้าย่อมบาปเหมือนกันหมด    
เศาะหิ๊หฺ อิบนุมาญฮ์   หะดีษที่ 3381     ตรวจทานโดยเชคอัลบานี
        การดื่มเหล้าและเสพสิ่งออกฤทธิ์ทำให้เมาถือเป็นบาปทุกกรณี ไม่ว่าจะดื่มมากหรือดื่มน้อย เสพมากหรือเสพน้อย เมาหรือไม่เมา  เพราะท่านรอซูลให้ถือการดื่มเสพเป็นเกณฑ์ ท่านรอซูลกล่าวเป็นโอวาทว่า
" เมื่อปริมาณมากทำให้เมาได้ การเสพเพียงน้อยนิด - โดยไม่เมา - ก็เป็นบาปเหมือนกัน  "      จากบันทึกของอะหมัด,อาบีดาวู๊ด,อัดติรมิซีย์และอิบนิมาญฮ์
           การดื่มน้ำเมาถือเป็นกระทงความผิดตามกฎหมายอาญาในอิสลาม และอยู่ในประเภทคดีใหญ่ (كبائر   กะบาอิร หรือมหันตโทษ ) เป็นคดีความผิดทั้งในโลกดุนยานี้และโลกอาคิเราะฮ์

ชะรอบ เครื่องดื่ม,เหล้าไวน์
اسْمُ الشَّرَابِ يَنْطَلِقُ مِنْ جِهَةِ اللُّغَةِ عَلَى كُلِّ مَشْرُوبٍ مُسْكِرٍ وَغَيْرِهِ
ชะรอบคือชื่อที่ใช้เรียกในทางภาษากับ เครื่องดื่มทุกชนิดที่จัดอยู่ในประเภทมืนเมาและอื่นๆ
หากสิ่งที่มุอาวียะฮ์ดื่มไม่ใช่ไวน์ บิดาของอับดุลเลาะฮ์บินบุร็อยดะฮ์จะไม่กล่าวว่า เขาไม่ได้ดื่มอีกเลยหลังจากที่ท่านรอซูลฯสั่งห้ามดื่มเพราะหะร่าม.
#2107
ซุนนี่รายงานว่า อัลบัรรอ บินอาซิบดื่มไวน์

อิบนุอบีชัยบะฮ์ มุหัดดิษซุนนี่รายงานว่า
24034 - حَدَّثَنَا أَبُو بَكْرٍ قَالَ حَدَّثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ فُضَيْلٍ عَنْ حَبِيبِ بْنِ أَبِي عَمْرَةَ
عَنْ عَدِيِّ بْنِ أَبِي ثَابِتٍ عَنِ الْبَرَاءِ بْنِ عَازِبٍ أَنَّهُ كَانَ يَشْرَبُ الطِّلاَءَ عَلَى النِّصْفِ

مصنف ابن أبي شيبة  ج 5 ص 94
الكتاب : المصنف في الأحاديث والآثار
المؤلف : أبو بكر عبد الله بن محمد بن أبي شيبة الكوفي
الناشر : مكتبة الرشد – الرياض الطبعة الأولى ، 1409  تحقيق : كمال يوسف الحوت
อบูบักรเล่าให้เราฟัง  เขากล่าวว่า มุหัมมัด บินฟุฎัยลฺเล่าให้เรา  จากหะบี๊บ บินอบีอัมเราะฮ์ จากอะดีย์ บินอบีษาบิต จากอัลบัรรออ์ บินอาซิบ  แท้จริงเขาเคยดื่มไวน์ครึ่งหนึ่ง
หนังสือมุศ็อนนัฟ โดยอิบนุอบีชัยบะฮ์   หะดีษที่ 24034

อัฏ-ฏิลาอ์  คือไวน์องุ่น
والطِلاء: ما طُبخ من عصير العنب حتَّى ذهب ثلثاه، وبعض العرب يسمِّي الخمر الطِلاء
الصحاح في اللغة    المؤلف الجوهري ج 1 ص 429
อัฏฏิลาอ์ คือน้ำผลไม้องุ่นที่เอามาต้มจนระเหยไปสามส่วน ชาวอรับบางคนเรียกสุราว่า ฏิลาอ์
หนังสืออัศศิห๊าหุ ฟิลลุเฆาะฮ์  โดยอัลเญาฮะรีย์  เล่ม 1 : 429

คำถามสำหรับซุนนี่   ท่นต้องเลือกตอบข้อใดข้อหนึ่งคือ
1.   บัรรอ บินอาซิบดื่มจริง หรือ
2.   นักรายงานซุนนี่ร่วมหัวกันโกหกใส่ร้าย อัลบัรรอ
3.   ถ้าอัลบัรรอดื่มจริง ก็ถือว่าทำสิ่งหะร่าม   เพราะอัลลอฮ์ตรัสว่า
يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آَمَنُوا إِنَّمَا الْخَمْرُ وَالْمَيْسِرُ وَالْأَنْصَابُ وَالْأَزْلَامُ رِجْسٌ مِنْ عَمَلِ الشَّيْطَانِ فَاجْتَنِبُوهُ لَعَلَّكُمْ تُفْلِحُونَ (90)
إِنَّمَا يُرِيدُ الشَّيْطَانُ أَنْ يُوقِعَ بَيْنَكُمُ الْعَدَاوَةَ وَالْبَغْضَاءَ فِي الْخَمْرِ وَالْمَيْسِرِ وَيَصُدَّكُمْ عَنْ ذِكْرِ اللَّهِ وَعَنِ الصَّلَاةِ فَهَلْ أَنْتُمْ مُنْتَهُونَ (91)
ความหมาย   ( โอ้บรรดาผู้มั่นในศรัทธาทั้งหลายที่จริงแล้วทั้งสุราและการพนันและการเส้นสังเวยบูชาโและการเสี่ยงติ้วเป็นสิ่งโสมม ( อบายมุข ) อันเป็นผลงานจากซาตาน ( ชัยฏอน ) ดังนั้นพวกเจ้าจงหลีกเลี่ยงให้ไกลเสีย เพื่อพวกเจ้าเองจักได้รับชัย   ที่จริงแล้วซาตาน ( ชัยฏอน )  ต้องการเพียงแค่ยุแหย่ให้เกิดความเป็นอริศัตรูกัน , ความโกรธเกลียดกันในระหว่างพวกเจ้า  และมันยังคอยแต่จะทำให้พวกเจ้าหันเหออกจากการระลึกถึงอัลลอฮ์ และการละหมาด   เช่นนี้แล้วพวกเจ้าจะยุติไหม ?   )   ( จากบทอัลมาอิดะฮ์   โองการที่ 90 - 91 )

อัลค็อมรุ ( خَمْرٌ   ) ในอดีตจะหมายถึงเหล้าหรือน้ำเมาที่เกิดจากการหมักผลไม้เท่านั้น
ท่านรอซูลกล่าวว่า
كُلُّ مُسْكِرٍ خَمْرٌ وَكُلُّ خَمْرٍ حَرَامٌ
ทุกสิ่งที่ออกฤทธิ์ทำให้มึนเมาถือเป็นเหล้า  และทุกสิ่งที่ถือเป็นเช่นเหล้าย่อมบาปเหมือนกันหมด    
เศาะหิ๊หฺ อิบนุมาญฮ์   หะดีษที่ 3381     ตรวจทานโดยเชคอัลบานี
        การดื่มเหล้าและเสพสิ่งออกฤทธิ์ทำให้เมาถือเป็นบาปทุกกรณี ไม่ว่าจะดื่มมากหรือดื่มน้อย เสพมากหรือเสพน้อย เมาหรือไม่เมา  เพราะท่านรอซูลให้ถือการดื่มเสพเป็นเกณฑ์ ท่านรอซูลกล่าวเป็นโอวาทว่า
" เมื่อปริมาณมากทำให้เมาได้ การเสพเพียงน้อยนิด - โดยไม่เมา - ก็เป็นบาปเหมือนกัน  "      จากบันทึกของอะหมัด,อาบีดาวู๊ด,อัดติรมิซีย์และอิบนิมาญฮ์
           การดื่มน้ำเมาถือเป็นกระทงความผิดตามกฎหมายอาญาในอิสลาม และอยู่ในประเภทคดีใหญ่ (كبائر   กะบาอิร หรือมหันตโทษ ) เป็นคดีความผิดทั้งในโลกดุนยานี้และโลกอาคิเราะฮ์

ชะรอบ เครื่องดื่ม,เหล้าไวน์
اسْمُ الشَّرَابِ يَنْطَلِقُ مِنْ جِهَةِ اللُّغَةِ عَلَى كُلِّ مَشْرُوبٍ مُسْكِرٍ وَغَيْرِهِ
ชะรอบคือชื่อที่ใช้เรียกในทางภาษากับ เครื่องดื่มทุกชนิดที่จัดอยู่ในประเภทมืนเมาและอื่นๆ
หากสิ่งที่มุอาวียะฮ์ดื่มไม่ใช่ไวน์ บิดาของอับดุลเลาะฮ์บินบุร็อยดะฮ์จะไม่กล่าวว่า เขาไม่ได้ดื่มอีกเลยหลังจากที่ท่านรอซูลฯสั่งห้ามดื่มเพราะหะร่าม.
#2108
ซุนนี่รายงานว่า คอลิด บินวาลีด ดื่มไวน์

อิบนุอบีชัยบะฮ์ มุหัดดิษซุนนี่รายงานว่า
24006 - حَدَّثَنَا أَبُو بَكْرٍ قَالَ (حَدَّثَنَا عَبْدُ اللَّهِ) بْنُ نُمَيْرٍ قَالَ حَدَّثَنَا إِسْمَاعِيلُ عَنْ مُغِيرَةَ عَنْ شُرَيْحٍ أَنَّ خَالِدَ بْنَ الْوَلِيدِ كَانَ يَشْرَبُ الطِّلاَءَ بِالشَّامِ

مصنف ابن أبي شيبة ج 5 ص 91
المؤلف : أبو بكر عبد الله بن محمد بن أبي شيبة الكوفي
الناشر : مكتبة الرشد - الرياض
الطبعة الأولى ، 1409  تحقيق : كمال يوسف الحوت  عدد الأجزاء : 7
อบูบักรได้เล่าให้เราฟัง เขากล่าวว่า อับดุลเลาะฮ์ บินนุมัยรฺเล่าให้เราฟัง เขากล่าวว่า อิสมาอีลเล่าให้เราฟัง จากมุฆีเราะฮ์ จากชุรี๊ห์ เล่าว่า  แท้จริงคอลิด บินวาลีดเคยดื่มไวน์ที่เมืองช่าม
หนังสืออัลมุศ็อนนัฟ โดยอิบนุ อบีชัยบะฮ์  หะดีษที่ 24006

อัฏ-ฏิลาอ์  คือไวน์องุ่น
والطِلاء: ما طُبخ من عصير العنب حتَّى ذهب ثلثاه، وبعض العرب يسمِّي الخمر الطِلاء
الصحاح في اللغة    المؤلف الجوهري ج 1 ص 429
อัฏฏิลาอ์ คือน้ำผลไม้องุ่นที่เอามาต้มจนระเหยไปสามส่วน ชาวอรับบางคนเรียกสุราว่า ฏิลาอ์
หนังสืออัศศิห๊าหุ ฟิลลุเฆาะฮ์  โดยอัลเญาฮะรีย์  เล่ม 1 : 429

คำถามสำหรับซุนนี่   ท่นต้องเลือกตอบข้อใดข้อหนึ่งคือ
1.   คอลิด บินวาลีดดื่มจริง หรือ
2.   นักรายงานซุนนี่ร่วมหัวกันโกหกใส่ร้าย คอลิด
3.   ถ้าคอลิดดื่มจริง ก็ถือว่าทำสิ่งหะร่าม   เพราะอัลลอฮ์ตรัสว่า
يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آَمَنُوا إِنَّمَا الْخَمْرُ وَالْمَيْسِرُ وَالْأَنْصَابُ وَالْأَزْلَامُ رِجْسٌ مِنْ عَمَلِ الشَّيْطَانِ فَاجْتَنِبُوهُ لَعَلَّكُمْ تُفْلِحُونَ (90)
إِنَّمَا يُرِيدُ الشَّيْطَانُ أَنْ يُوقِعَ بَيْنَكُمُ الْعَدَاوَةَ وَالْبَغْضَاءَ فِي الْخَمْرِ وَالْمَيْسِرِ وَيَصُدَّكُمْ عَنْ ذِكْرِ اللَّهِ وَعَنِ الصَّلَاةِ فَهَلْ أَنْتُمْ مُنْتَهُونَ (91)
ความหมาย   ( โอ้บรรดาผู้มั่นในศรัทธาทั้งหลายที่จริงแล้วทั้งสุราและการพนันและการเส้นสังเวยบูชาโและการเสี่ยงติ้วเป็นสิ่งโสมม ( อบายมุข ) อันเป็นผลงานจากซาตาน ( ชัยฏอน ) ดังนั้นพวกเจ้าจงหลีกเลี่ยงให้ไกลเสีย เพื่อพวกเจ้าเองจักได้รับชัย   ที่จริงแล้วซาตาน ( ชัยฏอน )  ต้องการเพียงแค่ยุแหย่ให้เกิดความเป็นอริศัตรูกัน , ความโกรธเกลียดกันในระหว่างพวกเจ้า  และมันยังคอยแต่จะทำให้พวกเจ้าหันเหออกจากการระลึกถึงอัลลอฮ์ และการละหมาด   เช่นนี้แล้วพวกเจ้าจะยุติไหม ?   )   ( จากบทอัลมาอิดะฮ์   โองการที่ 90 - 91 )

อัลค็อมรุ ( خَمْرٌ   ) ในอดีตจะหมายถึงเหล้าหรือน้ำเมาที่เกิดจากการหมักผลไม้เท่านั้น
ท่านรอซูลกล่าวว่า
كُلُّ مُسْكِرٍ خَمْرٌ وَكُلُّ خَمْرٍ حَرَامٌ
ทุกสิ่งที่ออกฤทธิ์ทำให้มึนเมาถือเป็นเหล้า  และทุกสิ่งที่ถือเป็นเช่นเหล้าย่อมบาปเหมือนกันหมด    
เศาะหิ๊หฺ อิบนุมาญฮ์   หะดีษที่ 3381     ตรวจทานโดยเชคอัลบานี
        การดื่มเหล้าและเสพสิ่งออกฤทธิ์ทำให้เมาถือเป็นบาปทุกกรณี ไม่ว่าจะดื่มมากหรือดื่มน้อย เสพมากหรือเสพน้อย เมาหรือไม่เมา  เพราะท่านรอซูลให้ถือการดื่มเสพเป็นเกณฑ์ ท่านรอซูลกล่าวเป็นโอวาทว่า
" เมื่อปริมาณมากทำให้เมาได้ การเสพเพียงน้อยนิด - โดยไม่เมา - ก็เป็นบาปเหมือนกัน  "      จากบันทึกของอะหมัด,อาบีดาวู๊ด,อัดติรมิซีย์และอิบนิมาญฮ์
           การดื่มน้ำเมาถือเป็นกระทงความผิดตามกฎหมายอาญาในอิสลาม และอยู่ในประเภทคดีใหญ่ (كبائر   กะบาอิร หรือมหันตโทษ ) เป็นคดีความผิดทั้งในโลกดุนยานี้และโลกอาคิเราะฮ์

ชะรอบ เครื่องดื่ม,เหล้าไวน์
اسْمُ الشَّرَابِ يَنْطَلِقُ مِنْ جِهَةِ اللُّغَةِ عَلَى كُلِّ مَشْرُوبٍ مُسْكِرٍ وَغَيْرِهِ
ชะรอบคือชื่อที่ใช้เรียกในทางภาษากับ เครื่องดื่มทุกชนิดที่จัดอยู่ในประเภทมืนเมาและอื่นๆ
หากสิ่งที่มุอาวียะฮ์ดื่มไม่ใช่ไวน์ บิดาของอับดุลเลาะฮ์บินบุร็อยดะฮ์จะไม่กล่าวว่า เขาไม่ได้ดื่มอีกเลยหลังจากที่ท่านรอซูลฯสั่งห้ามดื่มเพราะหะร่าม.
#2109
ซุนนี่รายงานว่าอบูอุบัยดะฮ์ ดื่มไวน์จนหน้าแดง

อิบนุอบีชัยบะฮ์ มุหัดดิษซุนนี่รายงานว่า
24001 - حَدَّثَنَا أَبُو بَكْرٍ قَالَ حَدَّثَنَا أَبُو مُعَاوِيَةَ عَنِ الْأَعْمَشِ عَنْ عَلِيِّ بْنِ بَذِيمَةَ عَنْ أَبِي عُبَيْدَةَ أَنَّهُ كَانَ يَشْرَبُ الطِّلاَءَ عِنْدَ مَرْوَانَ مَا يَحْمَرُّ وَجْنَتُهُ.
مصنف ابن أبي شيبة  ج 5 ص 91
المؤلف : أبو بكر عبد الله بن محمد بن أبي شيبة الكوفي
الناشر : مكتبة الرشد – الرياض  الطبعة الأولى ، 1409  تحقيق : كمال يوسف الحوت  
อบูบักรฺได้เล่าให้เราฟัง  เขากล่าวว่า อบูมุอาวียะฮ์เล่าให้เราฟัง จากอัลอะอ์มัช จากอะลี บินบะซีอะฮ์   จากอบูอุบัยดะฮ์  แท้จริงเขาเคยดื่มไวน์อยู่กับมัรวาน จนแก้มแดง
หนังสือมัลมุศ็อนนัฟ  โดยอิบนุ อบีชัยบะฮ์  หะดีษที่ 24001
والطِلاء: ما طُبخ من عصير العنب حتَّى ذهب ثلثاه، وبعض العرب يسمِّي الخمر الطِلاء
الصحاح في اللغة    المؤلف الجوهري ج 1 ص 429
อัฏฏิลาอ์ คือน้ำผลไม้องุ่นที่เอามาต้มจนระเหยไปสามส่วน ชาวอรับบางคนเรียกสุราว่า ฏิลาอ์
หนังสืออัศศิห๊าหุ ฟิลลุเฆาะฮ์  โดยอัลเญาฮะรีย์  เล่ม 1 : 429
อัฏ-ฏิลาอ์  คือไวน์องุ่น
والطِلاء: ما طُبخ من عصير العنب حتَّى ذهب ثلثاه، وبعض العرب يسمِّي الخمر الطِلاء
الصحاح في اللغة    المؤلف الجوهري ج 1 ص 429
อัฏฏิลาอ์ คือน้ำผลไม้องุ่นที่เอามาต้มจนระเหยไปสามส่วน ชาวอรับบางคนเรียกสุราว่า ฏิลาอ์
หนังสืออัศศิห๊าหุ ฟิลลุเฆาะฮ์  โดยอัลเญาฮะรีย์  เล่ม 1 : 429

คำถามสำหรับซุนนี่   ท่นต้องเลือกตอบข้อใดข้อหนึ่งคือ
1.   อบูอุบัยดะฮ์ดื่มจริง หรือ
2.   นักรายงานซุนนี่ร่วมหัวกันโกหกใส่ร้าย อบูอุบัยดะฮ์
3.   ถ้าอบูอุบัยดะฮ์ดื่มจริง ก็ถือว่าทำสิ่งหะร่าม   เพราะอัลลอฮ์ตรัสว่า
يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آَمَنُوا إِنَّمَا الْخَمْرُ وَالْمَيْسِرُ وَالْأَنْصَابُ وَالْأَزْلَامُ رِجْسٌ مِنْ عَمَلِ الشَّيْطَانِ فَاجْتَنِبُوهُ لَعَلَّكُمْ تُفْلِحُونَ (90)
إِنَّمَا يُرِيدُ الشَّيْطَانُ أَنْ يُوقِعَ بَيْنَكُمُ الْعَدَاوَةَ وَالْبَغْضَاءَ فِي الْخَمْرِ وَالْمَيْسِرِ وَيَصُدَّكُمْ عَنْ ذِكْرِ اللَّهِ وَعَنِ الصَّلَاةِ فَهَلْ أَنْتُمْ مُنْتَهُونَ (91)
ความหมาย   ( โอ้บรรดาผู้มั่นในศรัทธาทั้งหลายที่จริงแล้วทั้งสุราและการพนันและการเส้นสังเวยบูชาโและการเสี่ยงติ้วเป็นสิ่งโสมม ( อบายมุข ) อันเป็นผลงานจากซาตาน ( ชัยฏอน ) ดังนั้นพวกเจ้าจงหลีกเลี่ยงให้ไกลเสีย เพื่อพวกเจ้าเองจักได้รับชัย   ที่จริงแล้วซาตาน ( ชัยฏอน )  ต้องการเพียงแค่ยุแหย่ให้เกิดความเป็นอริศัตรูกัน , ความโกรธเกลียดกันในระหว่างพวกเจ้า  และมันยังคอยแต่จะทำให้พวกเจ้าหันเหออกจากการระลึกถึงอัลลอฮ์ และการละหมาด   เช่นนี้แล้วพวกเจ้าจะยุติไหม ?   )   ( จากบทอัลมาอิดะฮ์   โองการที่ 90 - 91 )

อัลค็อมรุ ( خَمْرٌ   ) ในอดีตจะหมายถึงเหล้าหรือน้ำเมาที่เกิดจากการหมักผลไม้เท่านั้น
ท่านรอซูลกล่าวว่า
كُلُّ مُسْكِرٍ خَمْرٌ وَكُلُّ خَمْرٍ حَرَامٌ
ทุกสิ่งที่ออกฤทธิ์ทำให้มึนเมาถือเป็นเหล้า  และทุกสิ่งที่ถือเป็นเช่นเหล้าย่อมบาปเหมือนกันหมด    
เศาะหิ๊หฺ อิบนุมาญฮ์   หะดีษที่ 3381     ตรวจทานโดยเชคอัลบานี
        การดื่มเหล้าและเสพสิ่งออกฤทธิ์ทำให้เมาถือเป็นบาปทุกกรณี ไม่ว่าจะดื่มมากหรือดื่มน้อย เสพมากหรือเสพน้อย เมาหรือไม่เมา  เพราะท่านรอซูลให้ถือการดื่มเสพเป็นเกณฑ์ ท่านรอซูลกล่าวเป็นโอวาทว่า
" เมื่อปริมาณมากทำให้เมาได้ การเสพเพียงน้อยนิด - โดยไม่เมา - ก็เป็นบาปเหมือนกัน  "      จากบันทึกของอะหมัด,อาบีดาวู๊ด,อัดติรมิซีย์และอิบนิมาญฮ์
           การดื่มน้ำเมาถือเป็นกระทงความผิดตามกฎหมายอาญาในอิสลาม และอยู่ในประเภทคดีใหญ่ (كبائر   กะบาอิร หรือมหันตโทษ ) เป็นคดีความผิดทั้งในโลกดุนยานี้และโลกอาคิเราะฮ์

ชะรอบ เครื่องดื่ม,เหล้าไวน์
اسْمُ الشَّرَابِ يَنْطَلِقُ مِنْ جِهَةِ اللُّغَةِ عَلَى كُلِّ مَشْرُوبٍ مُسْكِرٍ وَغَيْرِهِ
ชะรอบคือชื่อที่ใช้เรียกในทางภาษากับ เครื่องดื่มทุกชนิดที่จัดอยู่ในประเภทมืนเมาและอื่นๆ
หากสิ่งที่มุอาวียะฮ์ดื่มไม่ใช่ไวน์ บิดาของอับดุลเลาะฮ์บินบุร็อยดะฮ์จะไม่กล่าวว่า เขาไม่ได้ดื่มอีกเลยหลังจากที่ท่านรอซูลฯสั่งห้ามดื่มเพราะหะร่าม.
#2110
ซุนนี่รายงานว่า อะนัส บินมาลิกดื่มไวน์

อัต ต็อบรอนี มุหัดดิษซุนนี่รายงานว่า

672 - حَدَّثَنَا مُحَمَّدُ بْنُ مُحَمَّدٍ التَّمَّارُ ثَنَا سَعْدُ بْنُ شُعْبَةَ بْنُ الْحَجَّاجِ حَدَّثَنِي أَبِي عَنِ أَبِيْهِ قَالَ : رَأَيْتُ أَنَسَ بْنَ مَالِكٍ رضي الله عنه يَشْرَبُ الطِّلاَءَ
الكتاب : المعجم الكبير الطبراني  ج 1 ص 242
المؤلف : سليمان بن أحمد بن أيوب أبو القاسم الطبراني
الناشر : مكتبة العلوم والحكم - الموصل
الطبعة الثانية ، 1404 – 1983  تحقيق : حمدي بن عبدالمجيد السلفي

มุหัมมัด บินมุหัมมัด อัตตัมม้ารเล่าให้เราฟัง  สะอัด บินชุอ์บะฮ์ บินอัลหัจญ๊าจญ์เล่าให้เราฟัง บิดาฉันเล่าให้ฉันฟัง จากบิดาเขากล่าวว่า   ฉันเห็นอะนัส บินมาลิกดื่มไวน์
หนังสือมุอ์ญะมุลกะบีร  โดยอัฎฎ็อบรอนีย์  หะดีษที่ 672

อัฏ-ฏิลาอ์  คือไวน์องุ่น
والطِلاء: ما طُبخ من عصير العنب حتَّى ذهب ثلثاه، وبعض العرب يسمِّي الخمر الطِلاء
الصحاح في اللغة    المؤلف الجوهري ج 1 ص 429
อัฏฏิลาอ์ คือน้ำผลไม้องุ่นที่เอามาต้มจนระเหยไปสามส่วน ชาวอรับบางคนเรียกสุราว่า ฏิลาอ์
หนังสืออัศศิห๊าหุ ฟิลลุเฆาะฮ์  โดยอัลเญาฮะรีย์  เล่ม 1 : 429

คำถามสำหรับซุนนี่   ท่นต้องเลือกตอบข้อใดข้อหนึ่งคือ
1.   อะนัสดื่มจริง หรือ
2.   นักรายงานซุนนี่ร่วมหัวกันโกหกใส่ร้าย อะนัส
3.   ถ้าอะนัสดื่มจริง ก็ถือว่าทำสิ่งหะร่าม   เพราะอัลลอฮ์ตรัสว่า
يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آَمَنُوا إِنَّمَا الْخَمْرُ وَالْمَيْسِرُ وَالْأَنْصَابُ وَالْأَزْلَامُ رِجْسٌ مِنْ عَمَلِ الشَّيْطَانِ فَاجْتَنِبُوهُ لَعَلَّكُمْ تُفْلِحُونَ (90)
إِنَّمَا يُرِيدُ الشَّيْطَانُ أَنْ يُوقِعَ بَيْنَكُمُ الْعَدَاوَةَ وَالْبَغْضَاءَ فِي الْخَمْرِ وَالْمَيْسِرِ وَيَصُدَّكُمْ عَنْ ذِكْرِ اللَّهِ وَعَنِ الصَّلَاةِ فَهَلْ أَنْتُمْ مُنْتَهُونَ (91)
ความหมาย   ( โอ้บรรดาผู้มั่นในศรัทธาทั้งหลายที่จริงแล้วทั้งสุราและการพนันและการเส้นสังเวยบูชาโและการเสี่ยงติ้วเป็นสิ่งโสมม ( อบายมุข ) อันเป็นผลงานจากซาตาน ( ชัยฏอน ) ดังนั้นพวกเจ้าจงหลีกเลี่ยงให้ไกลเสีย เพื่อพวกเจ้าเองจักได้รับชัย   ที่จริงแล้วซาตาน ( ชัยฏอน )  ต้องการเพียงแค่ยุแหย่ให้เกิดความเป็นอริศัตรูกัน , ความโกรธเกลียดกันในระหว่างพวกเจ้า  และมันยังคอยแต่จะทำให้พวกเจ้าหันเหออกจากการระลึกถึงอัลลอฮ์ และการละหมาด   เช่นนี้แล้วพวกเจ้าจะยุติไหม ?   )   ( จากบทอัลมาอิดะฮ์   โองการที่ 90 - 91 )

อัลค็อมรุ ( خَمْرٌ   ) ในอดีตจะหมายถึงเหล้าหรือน้ำเมาที่เกิดจากการหมักผลไม้เท่านั้น
ท่านรอซูลกล่าวว่า
كُلُّ مُسْكِرٍ خَمْرٌ وَكُلُّ خَمْرٍ حَرَامٌ
ทุกสิ่งที่ออกฤทธิ์ทำให้มึนเมาถือเป็นเหล้า  และทุกสิ่งที่ถือเป็นเช่นเหล้าย่อมบาปเหมือนกันหมด    
เศาะหิ๊หฺ อิบนุมาญฮ์   หะดีษที่ 3381     ตรวจทานโดยเชคอัลบานี
        การดื่มเหล้าและเสพสิ่งออกฤทธิ์ทำให้เมาถือเป็นบาปทุกกรณี ไม่ว่าจะดื่มมากหรือดื่มน้อย เสพมากหรือเสพน้อย เมาหรือไม่เมา  เพราะท่านรอซูลให้ถือการดื่มเสพเป็นเกณฑ์ ท่านรอซูลกล่าวเป็นโอวาทว่า
" เมื่อปริมาณมากทำให้เมาได้ การเสพเพียงน้อยนิด - โดยไม่เมา - ก็เป็นบาปเหมือนกัน  "      จากบันทึกของอะหมัด,อาบีดาวู๊ด,อัดติรมิซีย์และอิบนิมาญฮ์
           การดื่มน้ำเมาถือเป็นกระทงความผิดตามกฎหมายอาญาในอิสลาม และอยู่ในประเภทคดีใหญ่ (كبائر   กะบาอิร หรือมหันตโทษ ) เป็นคดีความผิดทั้งในโลกดุนยานี้และโลกอาคิเราะฮ์

ชะรอบ เครื่องดื่ม,เหล้าไวน์
اسْمُ الشَّرَابِ يَنْطَلِقُ مِنْ جِهَةِ اللُّغَةِ عَلَى كُلِّ مَشْرُوبٍ مُسْكِرٍ وَغَيْرِهِ
ชะรอบคือชื่อที่ใช้เรียกในทางภาษากับ เครื่องดื่มทุกชนิดที่จัดอยู่ในประเภทมืนเมาและอื่นๆ
หากสิ่งที่มุอาวียะฮ์ดื่มไม่ใช่ไวน์ บิดาของอับดุลเลาะฮ์บินบุร็อยดะฮ์จะไม่กล่าวว่า เขาไม่ได้ดื่มอีกเลยหลังจากที่ท่านรอซูลฯสั่งห้ามดื่มเพราะหะร่าม.
#2111
ซุนนี่รายงานว่า มุอาวียะฮ์ดื่มไวน์

อิหม่ามอะหมัด หัวหน้ามัซฮับฮัมบะลี รายงานว่า มุอาวียะฮ์ดื่มไวน์
21863 - حَدَّثَنَا زَيْدُ بْنُ الْحُبَابِ حَدَّثَنِي حُسَيْنٌ حَدَّثَنَا عَبْدُ اللَّهِ بْنُ بُرَيْدَةَ قَالَ
دَخَلْتُ أَنَا وَأَبِي عَلَى مُعَاوِيَةَ فَأَجْلَسَنَا عَلَى الْفُرُشِ ثُمَّ أُتِينَا بِالطَّعَامِ فَأَكَلْنَا ثُمَّ أُتِينَا بِالشَّرَابِ فَشَرِبَ مُعَاوِيَةُ ثُمَّ نَاوَلَ أَبِي ثُمَّ قَالَ مَا شَرِبْتُهُ مُنْذُ حَرَّمَهُ رَسُولُ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ
تعليق شعيب الأرنؤوط : إسناده قوي
อับดุลเลาะฮ์ บินบุร็อยดะฮ์เล่าว่า : ฉันกับบิดาฉันได้เข้ามาพบมุอาวียะฮ์ แล้วเขาให้เรานั่งบนเตียงสำหรับนั่ง จากนั้นอาหารถูกนำมาให้เรา  เราได้ทาน จากนั้นเครื่องดื่มไวน์ถูกนำมาให้เรา แล้วมุอาวียะฮ์ได้ดื่ม จากนั้นบิดาฉันได้ดื่ม แล้วเขากล่าวว่า ฉันไม่ได้ดื่มมันมานับตั้งแต่ท่านรอซูลุลเลาะฮ์ได้ถือว่ามันเป็นสิ่งหะร่าม...
มุสนัดอิหม่ามอะหมัด หะดีษที่ 21863
เชคชุเอบ อัลอัรนะอูฏกล่าวว่า สะนัดหะดีษ เกาะวีย์ (แข็งแรง)

คำถามสำหรับซุนนี่   ท่นต้องเลือกตอบข้อใดข้อหนึ่งคือ
1.   มุอาวียะฮ์ดื่มไวน์จริง หรือ
2.   นักรายงานซุนนี่ร่วมหัวกันโกหกใส่ร้าย มุอาวียะฮ์
3.   ถ้ามุอาวียะฮ์ดื่มจริง ก็ถือว่าทำสิ่งหะร่าม   เพราะอัลลอฮ์ตรัสว่า
يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آَمَنُوا إِنَّمَا الْخَمْرُ وَالْمَيْسِرُ وَالْأَنْصَابُ وَالْأَزْلَامُ رِجْسٌ مِنْ عَمَلِ الشَّيْطَانِ فَاجْتَنِبُوهُ لَعَلَّكُمْ تُفْلِحُونَ (90)
إِنَّمَا يُرِيدُ الشَّيْطَانُ أَنْ يُوقِعَ بَيْنَكُمُ الْعَدَاوَةَ وَالْبَغْضَاءَ فِي الْخَمْرِ وَالْمَيْسِرِ وَيَصُدَّكُمْ عَنْ ذِكْرِ اللَّهِ وَعَنِ الصَّلَاةِ فَهَلْ أَنْتُمْ مُنْتَهُونَ (91)
ความหมาย   ( โอ้บรรดาผู้มั่นในศรัทธาทั้งหลายที่จริงแล้วทั้งสุราและการพนันและการเส้นสังเวยบูชาโและการเสี่ยงติ้วเป็นสิ่งโสมม ( อบายมุข ) อันเป็นผลงานจากซาตาน ( ชัยฏอน ) ดังนั้นพวกเจ้าจงหลีกเลี่ยงให้ไกลเสีย เพื่อพวกเจ้าเองจักได้รับชัย   ที่จริงแล้วซาตาน ( ชัยฏอน )  ต้องการเพียงแค่ยุแหย่ให้เกิดความเป็นอริศัตรูกัน , ความโกรธเกลียดกันในระหว่างพวกเจ้า  และมันยังคอยแต่จะทำให้พวกเจ้าหันเหออกจากการระลึกถึงอัลลอฮ์ และการละหมาด   เช่นนี้แล้วพวกเจ้าจะยุติไหม ?   )   ( จากบทอัลมาอิดะฮ์   โองการที่ 90 - 91 )

อัลค็อมรุ ( خَمْرٌ   ) ในอดีตจะหมายถึงเหล้าหรือน้ำเมาที่เกิดจากการหมักผลไม้เท่านั้น
ท่านรอซูลกล่าวว่า
كُلُّ مُسْكِرٍ خَمْرٌ وَكُلُّ خَمْرٍ حَرَامٌ
ทุกสิ่งที่ออกฤทธิ์ทำให้มึนเมาถือเป็นเหล้า  และทุกสิ่งที่ถือเป็นเช่นเหล้าย่อมบาปเหมือนกันหมด    
เศาะหิ๊หฺ อิบนุมาญฮ์   หะดีษที่ 3381     ตรวจทานโดยเชคอัลบานี
        การดื่มเหล้าและเสพสิ่งออกฤทธิ์ทำให้เมาถือเป็นบาปทุกกรณี ไม่ว่าจะดื่มมากหรือดื่มน้อย เสพมากหรือเสพน้อย เมาหรือไม่เมา  เพราะท่านรอซูลให้ถือการดื่มเสพเป็นเกณฑ์ ท่านรอซูลกล่าวเป็นโอวาทว่า
" เมื่อปริมาณมากทำให้เมาได้ การเสพเพียงน้อยนิด - โดยไม่เมา - ก็เป็นบาปเหมือนกัน  "      จากบันทึกของอะหมัด,อาบีดาวู๊ด,อัดติรมิซีย์และอิบนิมาญฮ์
           การดื่มน้ำเมาถือเป็นกระทงความผิดตามกฎหมายอาญาในอิสลาม และอยู่ในประเภทคดีใหญ่ (كبائر   กะบาอิร หรือมหันตโทษ ) เป็นคดีความผิดทั้งในโลกดุนยานี้และโลกอาคิเราะฮ์

ชะรอบ เครื่องดื่ม,เหล้าไวน์
اسْمُ الشَّرَابِ يَنْطَلِقُ مِنْ جِهَةِ اللُّغَةِ عَلَى كُلِّ مَشْرُوبٍ مُسْكِرٍ وَغَيْرِهِ
ชะรอบคือชื่อที่ใช้เรียกในทางภาษากับ เครื่องดื่มทุกชนิดที่จัดอยู่ในประเภทมืนเมาและอื่นๆ
หากสิ่งที่มุอาวียะฮ์ดื่มไม่ใช่ไวน์ บิดาของอับดุลเลาะฮ์บินบุร็อยดะฮ์จะไม่กล่าวว่า เขาไม่ได้ดื่มอีกเลยหลังจากที่ท่านรอซูลฯสั่งห้ามดื่มเพราะหะร่าม.
#2112
ซุนนี่ใส่ร้ายว่า เศาะหาบะฮ์ลบหลู่นบีมุหัมมัด

บุคอรี  มุหัดดิษซุนนี่รายงานว่า เศาะหาบะฮ์ตำหนิท่านนบีว่า พูดจาเพ้อเจ้อ
عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ - رضى الله عنهما - فَقَالَ اشْتَدَّ بِرَسُولِ اللَّهِ - صلى الله عليه وسلم - وَجَعُهُ يَوْمَ الْخَمِيسِ فَقَالَ « ائْتُونِى بِكِتَابٍ أَكْتُبْ لَكُمْ كِتَابًا لَنْ تَضِلُّوا بَعْدَهُ أَبَدًا » .
فَتَنَازَعُوا وَلاَ يَنْبَغِى عِنْدَ نَبِىٍّ تَنَازُعٌ
فَقَالُوا هَجَرَ رَسُولُ اللَّهِ - صلى الله عليه وسلم -
อิบนุอับบาสรายงาน :
เมื่ออาการเจ็บของท่านรอซูลุลเลาะฮ์ทวีความรุนแรงมากขึ้นในวันพฤหัสบดี
ท่านได้กล่าวว่า  : พวกเจ้าจงไปนำกระดาษมาให้ฉัน, ฉันจะได้บันทึกมันไว้ให้พวกเจ้า เพื่อว่าพวกเจ้าจะได้ไม่หลงทางโดยเด็ดขาดหลังจากฉัน
ดังนั้นพวกเขาได้ขัดแย้งกันเอง และไม่สมควรที่จะมาขัดแย้งกันเองต่อหน้าท่านนบี
พวกเขากล่าวว่า  :  ท่านรอซูลุลเลาะฮ์ได้ " เพ้อเจ้อเสียแล้ว "

เศาะหี๊หฺบุคอรี  หะดีษที่ 3053

คำถามสำหรับซุนนี่
1.   พวกเขาในที่นี้คือใคร ?   เป็นเศาะหาบะฮ์หรือคนอื่น
2.   จะเป็นใครก็ตาม   ทำไมไม่ฟังอัลเลาะฮ์ที่รับรองคำพูดของนบีมุหัมมัดว่า
وَمَا يَنْطِقُ عَنِ الْهَوَى  إِنْ هُوَ إِلَّا وَحْيٌ يُوحَى
และเขา(มุหัมมัด)ไม่เคยพูดจากอารมณ์(ของตนเอง) คำพูดนั้นมิใช่อื่นใด นอกจากคือวะห์ยู(ที่พระเจ้า)ดลมายังเขา  อัน-นัจญ์มุ : 3 – 4
3.ฮะญะเราะ ( هَجَرَ ) แปลว่า เพ้อเจ้อใช่ไหม ?    คำ ฮะญะเราะ ,ยะฮ์ญุรู่,ฮิจญ์รอน (هَجَرَ – يَهْجُرُ - هَجْرًا)
อัลเญาฮะรีกล่าวว่า :
والهَجْرُ أيضاً: الهَذَيانُ. وقد هَجَرَ المريض يَهْجُرُ هَجْراً
الصحاح في اللغة ج 2 ص 243
คำ อัลฮัจญ์รุ เช่นกันมีความหมายว่า ฮัซยาน คือพูดไม่มีเหตุผล,พูดไร้สาระ,พูดเพ้อเจ้อ
หนังสืออัศ-ศิฮาฮุ ฟิลลุเฆาะฮ์ เล่ม 2 : 243

ท่านซัยนุดดีน อัลรอซีกล่าวว่า :

والهَجْرُ بالفتح أيضاً الهَذَيان وقد هَجَرَ المرِيضُ
مختار الصحاح ج 1 ص 327
และคำ อัลฮัจญ์รุ สะกดด้วยฟัตหะฮ์นั้นเช่นกันมีความหมายว่า ฮัซยาน คือพูดไม่มีเหตุผล,พูดไร้สาระ,เพ้อเจ้อ  และแน่นอนคนป่วยได้พูดเพ้อเจ้อ
หนังสือมุคตารุศ-ศิฮ๊าห์ เล่ม 1 : 327

قَالُوا : هَجَرَ رَسُولُ اللَّهِ
พวกเขากล่าวว่า  : รอซูลุลเลาะฮ์ ฮะญะเราะ
จึงแปลตามภาษาว่า พวกเขากล่าวว่า  รอซูลุลเลาะฮ์พูดเพ้อเจ้อ  
แทบไม่อยากเชื่อว่า ซุนนี่จะใส่ร้ายเศาะหาบะฮ์เช่นนี้
#2113
ซุนนี่ใส่ร้ายว่า เศาะหาบะฮ์ตำหนินบีมุหัมมัด

วันเสาร์  ก่อนที่ท่านนบีมุหัมมัดจะวะฟาตประมาณสองสามวัน  ท่านนบีได้แต่งตั้งอุสามะฮ์เป็นแม่ทัพ ให้คุมทัพไปปราบพวกโรมที่เมืองช่าม
ทหารภายใต้การนำทัพของอุสามะฮ์มีทั้ง ชาวมุฮาญิรีนและชาวอันศ็อรระดับอาวุโสรวมอยู่ด้วยอาทิเช่น ท่านอบูบักร อุมัร ...
ปรากฏว่า เศาะหาบะฮ์ไม่พอใจที่อุสามะฮ์ได้เป็นแม่ทัพ พวกเขาจึงตำหนิอุสามะฮ์ว่าไม่มีความเหมาะสม  
บุคอรี มุหัดดิษซุนนี่รายงานว่า
عَنِ ابْنِ عُمَرَ - رضى الله عنهما – قَالَ :  أَمَّرَ رَسُولُ اللَّهِ - صلى الله عليه وسلم - أُسَامَةَ عَلَى قَوْمٍ ، فَطَعَنُوا فِى إِمَارَتِهِ ، فَقَالَ « إِنْ تَطْعَنُوا فِى إِمَارَتِهِ ، فَقَدْ طَعَنْتُمْ فِى إِمَارَةِ أَبِيهِ مِنْ قَبْلِهِ ، وَايْمُ اللَّهِ لَقَدْ كَانَ خَلِيقًا لِلإِمَارَةِ ، وَإِنْ كَانَ مِنْ أَحَبِّ النَّاسِ إِلَىَّ ، وَإِنَّ هَذَا لَمِنْ أَحَبِّ النَّاسِ إِلَىَّ بَعْدَهُ » . صحيح البخاري  ح : 4250
ท่านอิบนุอุมัรรายงานว่า  :
ท่านรอซูลุลเลาะฮ์ได้แต่งตั้งอุสามะฮ์เป็นแม่ทัพเหนือกลุ่มชนหนึ่ง  แล้วพวกเขา(เศาะหาบะฮ์)ได้" ตำหนิ " ในการเป็นแม่ทัพของเขา  
(ท่านนบีได้ออกมาปราศัยว่า ) หากพวกเจ้าตำหนิการเป็นแม่ทัพของเขา แน่นอนพวกเจ้าเคยตำหนิการเป็นแม่ทัพของบิดาเขามาแล้วก่อนหน้าเขา  ขอสาบานต่ออัลเลาะฮ์ว่า เขาเหมาะสมสำหรับตำแหน่งแม่ทัพนี้ และเขาเป็นที่รักยิ่งสำหรับฉัน และชายคนนี้(อุสามะฮ์บุตรเซด)เป็นที่รักยิ่งของฉันภายหลังจากเขา (ที่จะนำทัพไปรบ)
เศาะหี๊หฺบุคอรีย์ หะดีษที่ 4250

อ่านกันชัดๆอีกทีนะครับ
فَطَعَنُوا فِى إِمَارَتِهِ
พวกเขา(คือเศาะหาบะฮ์)ได้ตำหนิในการเป็นแม่ทัพของเขา  
เท่ากับซุนนี่ระบุว่า เศาะหาบะฮ์ตำหนิท่านนบีมุฮัมมัดเพราะท่านคือผู้แต่งตั้งอุสามะฮ์

ชะฮ์ร็อสตานีอาเล่มซุนนี่ยังบันทึกไว้ในหนังสืออัลมิลัลวันนิหัลของเขาว่า ท่านนบีมุหัมมัดได้ออกมากำชับเศาะหาบะฮ์ว่า จงออกไปกับรวมกับกองทัพและกล่าวว่า
لَعَنَ اللهُ عَلَي مَنْ تَخَلَّفَ عَنْ جَيْشِ أُسَامَة
ขออัลเลาะฮ์ทรงละนัดผู้ที่ยังไม่ไปเข้าร่วมกับกองทัพอุสามะฮ์
นี่คือรายงานของซุนนี่เองทั้งหมด ว่าเศาะหาบะฮ์ตำหนินบี และนบีละนัดเศาะหาบะฮ์

คำถามสำหรับซุนนี่
1.   ทำไมเศาะหาบะฮ์ถึงตำหนิการแต่งตั้งของท่านนบีฯ
2.   ทำไมท่านนบีต้องละอ์นัตเศาะหาบะฮ์
3.   ท่านคิดว่า อย่างไรในเรื่องนี้  คือเศาะหาบะฮ์ตำหนินบี หรือบุคอรีใส่ร้ายพวกเขา
4.   หากชะฮ์รอสตานีเป็นซุนนี่ ทำไมถึงรายงานหะดีษที่เป็นภาพลบต่อนบีและเศาะบะฮ์เช่นนี้
#2114
ซุนนี่ใส้ร้ายว่า เศาะหาบะฮ์ว่าตกมุรตัด

บุคอรี มุหัดดิษซุนนี่รายงานว่า

عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ - رضى الله عنهما - قَالَ خَطَبَ النَّبِىُّ - صلى الله عليه وسلم - فَقَالَ « إِنَّكُمْ مَحْشُورُونَ إِلَى اللَّهِ حُفَاةً عُرَاةً غُرْلاً (كَمَا بَدَأْنَا أَوَّلَ خَلْقٍ نُعِيدُهُ وَعْدًا عَلَيْنَا إِنَّا كُنَّا فَاعِلِينَ (الأنبياء : 104)) ثُمَّ إِنَّ أَوَّلَ مَنْ يُكْسَى يَوْمَ الْقِيَامَةِ إِبْرَاهِيمُ ، أَلاَ إِنَّهُ يُجَاءُ بِرِجَالٍ مِنْ أُمَّتِى ، فَيُؤْخَذُ بِهِمْ ذَاتَ الشِّمَالِ ، فَأَقُولُ يَا رَبِّ أَصْحَابِى فَيُقَالُ لاَ تَدْرِى مَا أَحْدَثُوا بَعْدَكَ...
فَيُقَالُ إِنَّ هَؤُلاَءِ لَمْ يَزَالُوا مُرْتَدِّينَ عَلَى أَعْقَابِهِمْ مُنْذُ فَارَقْتَهُمْ »
صحيح البخاري : 4740
อิบนุอับบาสรายงาน :  ท่านรอซูลุลเลาะฮ์ได้ทำการคุฏบะฮ์ ท่านกล่าวว่า แท้จริงพวกท่านจะถูกนำมารวมกันยังอัลเลาะฮ์ในสถาพเท้าเปล่า กายเปลือย
( ดังเช่นที่เราได้เริ่มให้มีการบังเกิดครั้งแรก เราจะให้มันกลับเป็นขึ้นมาอีกเป็นสัญญาผูกพันกับเรา แท้จริงเราเป็นผู้กระทำอย่างแน่นอน (อัลอันบิยาอฺ :104).)
ต่อจากนั้นแท้จริงบุคคลแรกที่จะได้(อาภรณ์)สวมใส่ในวันกิยามะฮ์คือนบีอิบรอฮีม
พึงรู้เถิดว่าจะมีบรรดาชายส่วนหนึ่งจากประชาชาติของฉันถูกนำมา แล้วพวกเขาจะถูกนำไปทางด้านซ้ายมือ  ฉัน(นบี)จึงกล่าวว่า  ข้าแต่พระผู้อภิบาล (พวกเขา)คือเศาะหาบะฮ์ของฉัน
มีผู้กล่าวว่า ท่านไม่รู้หรอกว่า พวกเขาได้กระทำอุตริกรรมอะไรไว้หลังจากท่าน...
มีผู้กล่าวว่า แท้จริงพวกเขา(ซอฮาบะฮ์)เหล่านี้ยังคงหันส้นเท้าของพวกเขากลับ(สู่สภาพเดิมคือกุฟรฺ)นับตั้งแต่ท่านจากพวกเขาไป
เศาะหี๊หฺบุคอรี หะดีษที่ 4740

คำถามสำหรับซุนนี่   เศาะหาบะฮ์ที่ว่านี้เป็นใครชื่ออะไร  ทำอะไรหรือ ?
#2115
วาฮาบีกล่าวว่า "นบีหลงลืมในละหมาด"

อัลบุคอรีและมุสลิม มุหัดดิษวาฮาบีรายงานไว้หลายหะดีษดังนี้

عَنْ أَبِى هُرَيْرَةَ قَالَ صَلَّى النَّبِىُّ - صلى الله عليه وسلم - الظُّهْرَ رَكْعَتَيْنِ ، فَقِيلَ صَلَّيْتَ رَكْعَتَيْنِ . فَصَلَّى رَكْعَتَيْنِ ، ثُمَّ سَلَّمَ ثُمَّ سَجَدَ سَجْدَتَيْنِ

อบูฮุรอยเราะฮ์เล่าว่า  :  ท่านนบีมุฮัมมัด(ศ)ได้ละหมาดซุฮฺริสองร่อกะอัต มีคนกล่าวถามว่า ท่านได้ละหมาดไปสองร่อกะอัตเอง แล้วท่านจึงได้ละหมาด(เพิ่ม)อีกสองร่อกะอัต แล้วให้สลาม...
เศาะหิ๊หฺบุคอรี  หะดีษที่  715

عَنْ عِمْرَانَ بْنِ حُصَيْنٍ أَنَّ رَسُولَ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- صَلَّى الْعَصْرَ فَسَلَّمَ فِى ثَلاَثِ رَكَعَاتٍ ثُمَّ دَخَلَ مَنْزِلَهُ فَقَامَ إِلَيْهِ رَجُلٌ يُقَالُ لَهُ الْخِرْبَاقُ وَكَانَ فِى يَدَيْهِ طُولٌ فَقَالَ يَا رَسُولَ اللَّهِ. فَذَكَرَ لَهُ صَنِيعَهُ. وَخَرَجَ غَضْبَانَ يَجُرُّ رِدَاءَهُ حَتَّى انْتَهَى إِلَى النَّاسِ فَقَالَ « أَصَدَقَ هَذَا ». قَالُوا نَعَمْ. فَصَلَّى رَكْعَةً ثُمَّ سَلَّمَ ثُمَّ سَجَدَ سَجْدَتَيْنِ ثُمَّ سَلَّمَ.

อิมรอน บินหุศอยนฺเล่าว่า : ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้ละหมาดอัศริ แล้วให้สลาม ในสามร่อกะอัต จากนั้นท่านเข้าไปในบ้านท่าน มีชายคนหนึ่งชื่ออัลคิรบ๊าก มือทั้งสองของเขายาวได้ลุกขึ้นไปยังท่าน แล้วกล่าวว่า โอ้ท่านรอซูลุลลอฮ์ แล้วเขาเล่าการทำ(ละหมาด)ให้ท่านฟัง และท่านได้ออกมาในสภาพโกรธ.... ท่านกล่าวว่า ชายคนนี้พูดจริงหรือ พวกเขากล่าวว่า จริงครับ ท่านจึงละหมาดอีกหนึ่งร่อกะอัตแล้วให้สลาม...
เศาะหิ๊หฺมุสลิม  หะดีษที่  1321

عَنْ أَبِى هُرَيْرَةَ - رضى الله عنه - . أَنَّ رَسُولَ اللَّهِ - صلى الله عليه وسلم - انْصَرَفَ مِنِ اثْنَتَيْنِ فَقَالَ لَهُ ذُو الْيَدَيْنِ أَقُصِرَتِ الصَّلاَةُ أَمْ نَسِيتَ يَا رَسُولَ اللَّهِ فَقَالَ رَسُولُ اللَّهِ - صلى الله عليه وسلم - « أَصَدَقَ ذُو الْيَدَيْنِ » . فَقَالَ النَّاسُ نَعَمْ . فَقَامَ رَسُولُ اللَّهِ - صلى الله عليه وسلم - فَصَلَّى اثْنَتَيْنِ أُخْرَيَيْنِ ثُمَّ سَلَّمَ

อบูฮุรอยเราะฮ์เล่าว่า  :  ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)ได้ออกจากการละหมาด(โดยทำแค่)สองร่อกะอัต(จากละหมาดที่มีสี่ร่อกะอัต) แล้วซุลยะดัยน์ได้กล่าวกับท่านว่า ละหมาดถูกย่อกระนั้นหรือ หรือว่าท่านลืม โอ้รอซูลุลลอฮฺ
ท่านรอซูลุลลอฮ์(ศ)กล่าวถามว่า ซุลยะดัยน์กล่าวจริงหรือ ประชาชนจึงตอบว่า จริงครับ ท่านจึงลุกขึ้นละหมาดอีกสองร่อกะอัต(ที่ขาดไป) แล้วให้สลาม
เศาะหิ๊หฺบุคอรี  หะดีษที่  1228 

หะดีษทำนองนี้มีมากมาย  ต่างกรรมต่างวาระ

คำถามสำหรับวาฮาบี   
1.   ท่านต้องการตำหนินบีมุฮัมมัดหรือว่า  ขาดความคูชู๊อฺในละหมาด
2.   เหตุอันใดท่านนบี(ศ)จึงต้องโกรธซุลยะดัยน์ที่เตือนท่านเรื่องละหมาดไม่ครบ
3.   ทำไมท่านนบีต้องหันไปถามซอฮาบะฮ์ว่า  ซุลยะดัยน์พูดจริงหรือปล่าว
4.   หะดีษดังกล่าว จะไม่ขัดกับกุรอ่านหรือ   ที่อัลเลาะฮ์ตรัสว่า

قَدْ أَفْلَحَ الْمُؤْمِنُونَ  الَّذِينَ هُمْ فِي صَلَاتِهِمْ خَاشِعُونَ

แน่นอนบรรดาผู้ศรัทธาได้ประสบความสำเร็จแล้ว บรรดาผู้ที่พวกเขาเป็นผู้มีคุชูอฺ(การอ่อนน้อมถ่อมตน) ในเวลาละหมาดของพวกเขา
อัลมุอ์มินูน : 1-2

فَوَيْلٌ لِلْمُصَلِّينَ   الَّذِينَ هُمْ عَنْ صَلَاتِهِمْ سَاهُونَ

ความวิบัติจงมีแด่ผู้ละหมาด บรรดาผู้ที่พวกเขาเป็นผู้เมินเฉย(ไม่ใส่ใจ)จากการละหมาดของพวกเขา
อัลมาอูน : 4-5