ข่าว:

SMF - Just Installed!

Main Menu
Menu

Show posts

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.

Show posts Menu

Messages - sandee

#16
เพิ่มเติม

University of Technology Baghdad

University of Technology Baghdad Dr. Wa'el Noor Rifa'i, Präsident
Tel: 00964-1-7746532, 00964-1-7182288Fax: 00964-1-00964-1-7199446
E-mail: technology_university@yahoo.com

University of Baghdad Prof.
Dr. Musa Aziz Al-Musawe, Präsident
Tel.: 00964-1-776-0735, 00964-1-778-7191
E-mail: bagdaduniv@univofbagdad.com, abagdaduniv@univofbagdad.com

Foundation ofTechnical Education
Foundation of Technical Education Prof. Dr. Mahmood Sh. Abdulhusain, Präsident
#17
อยาตุลลอฮฺมูซา อัลมูซาวี ถือเป็นนักปราชญ์ชั้นสูงของโลกชีอะฮฺในสมัยนั้นเลยทีเดียวก็ว่าได้ ท่านเป็นหลานของอิมามอักบัรซัยยิด อบุลหะซันอัลมูซาวีย์ อัลอัศฟะฮานีย์ ผู้นำจิตวิญญาณของชาวชีอะฮฺในเมืองณะญัฟประเทศอิรัค ท่านเกิดในปี ค.ศ. 1930 ประวัติการศึกษาของท่านและประสบการณ์ในการทำงานของท่านมีสูงมากซึ่งผู้เขียนจะขอยกมาประมวลให้เราได้เห็นภาพดังนี้

ปี ค.ศ. 1955 เป็นความสำเร็จในชีวิตของท่านครั้งแรกกล่าวคือท่านสำเร็จการศึกษาในมหาวิทยาลัยแห่งเมืองณะญัฟ โดยได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูง ทางฟิกฮฺอิสลามจนถึงระดับ "อิจติฮาด" (ระดับสูงถึงขนาดออกคำวินิจฉัยหรือฟัตวาได้) และได้รับปริญญาระดับดุษฎีบัณฑิตทางนิติศาสตร์อิสลามจากมหาวิทยาลัยเตหะราน

ในปี ค.ศ. 1959 ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตทางปรัชญา จากมหาวิทยาลัยซอร์บอนกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

ระหว่างปี ค.ศ. 1960-1962 ท่านได้อยาตุลลอฮฺมูซาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ภาควิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม ในมหาวิทยาลัยเตหะราน

ระหว่างปี ค.ศ. 1968-1978 อยาตุลลอฮฺมูซาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ภาควิชาปรัชญาอิสลาม ในมหาวิทยาลัยแบกแดด ประเทศอิรัค

ปี ค.ศ. 1973-1974 ท่านอยาตุลลอฮฺมูซาเป็นศาสตราจารย์พิเศษในมหาวิทยาลัยฮาล ของประเทศเยอรมัน และศาสตราจารย์ช่วยราชการในมหาวิทยาลัยทริโปลี่ ประเทศลิเบีย

ปี ค.ศ. 1975-1976 ท่านอยาตุลลอฮฺมูซาเป็นศาสตราจารย์นักวิจัยในมหาวิทยาลัยฮาร์วาด สหรัฐอเมริกา

ปี ค.ศ. 1978 ท่านอยาตุลลอฮฺมูซา เป็นศาสตราจารย์ปฏิบัติราชการในมหาวิทยาลัยลอสแอนเจอลิส มลรัฐแคลิฟอเนียร์

ปี ค.ศ. 1979 เป็นปีแห่งความสำเร็จทางด้านศาสนาของท่าน กล่าวคือท่านอยาตุลลอฮฺมูซา อัลมูซาวีได้รับการคัดเลือกเป็นประธานสภาอิสลามสูงสุดในอเมริกาตะวันตก

 


       จากประวัติที่ได้กล่าวไปจะเห็นได้ว่าท่านอยาตุลลอฮฺมูซาอัลมูซาวีเป็นผู้ทรงความรู้อย่างแท้จริง ทั้งศาสตร์ด้านศาสนาและวิทยาการสมัยใหม่ อีกทั้งยังเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ช่ำชองในการทำงาน แต่ความสำเร็จที่แท้จริงในชีวิตของท่านเกิดขึ้นในปี ฮ.ศ. 1371 เมื่ออยาตุลลอฮฺมูซา อัลมูซาวีย์ ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงทางฟิกฮฺอิสลาม ระดับอิจติฮาด จากอยาตุลลอฮฺคนสำคัญของเมืองณะญัฟ คือ อยาตุลลอฮฺ มุฮัมมัด อัลหุเซน อัลกาชิฟ อัลฆอฎอ


หนังสือที่ท่านต้องลองเช็คดูว่าจริงป่าว?
http://www.khomainy.com/arkho/thailand/?ID=68
#18


ตอน  39


รายงานที่ 5



อิบนุมัสอูดรายงาน


معجم الكبير : 10357 –  حَدَّثَنَا إِسْحَاقُ بْنُ إِبْرَاهِيمَ بْنِ أَبِي حَسَّانَ الْأَنْمَاطِيُّ ثَنَا هِشَامُ بْنُ عَمَّارٍ (الدِّمَشْقِىُّ) ثَنَا الْوَلِيدُ بْنُ مُسْلِمٍ حَدَّثَنِي بُكَيْرُ بْنُ مَعْرُوفٍ عَنْ مُقَاتِلِ بْنِ حَيَّانَ عَنِ الْقَاسِمِ بْنِ عَبْدِ الرَّحْمَنِ عَنْ أَبِيهِ عَنْ عَبْدِ اللَّهِ (بن مسعود) قَالَ : قَالَ رَسُولُ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ: يَا ابْنَ مَسْعُودٍ هَلْ عَلِمْتَ أَنَّ بَنِي إِسْرَائِيلَ افْتَرَقُوا عَلَى اثْنَتَيْنِ وَسَبْعِينَ فِرْقَةً لَمْ يَنْجُ مِنْهاَ إِلَّا ثَلَاثَ فِرَقٌ

อิสฮ๊าก  บินอิบรอฮีม   บินอบีหัสซาน อัลอันมาฏี  จาก
ฮิช่าม  บินอัมมาร อัด-ดิมัชกี จาก
อัลวะลีด บินมุสลิม  จาก
บุกัยรฺ บินมะอ์รูฟ  จาก
มุกอติล บินหัยยาน จาก
อัลกอซิม บินอับดุลเราะห์มาน   จากบิดาเขา  จาก
อิบนุมัสอูดเล่าว่า
ท่นรอซูลุลเลาะฮ์(ศ)กล่าวว่า     โอ้อิบนิมัสอูด  ท่านรู้ไหมว่า  แท้จริง  บนีอิสรออีลได้แตกออกเป็น 72 กลุ่ม  ไม่มีกลุ่มใดรอด  ยกเว้นสามกลุ่มเท่านั้น

อัลมุอ์ญะมุลกะบีร   หะดีษที่  10357


ศึกษา สถานะของผู้รายงานหะดีษ (รอวี)


เชคอัลบานี  วิจารณ์ว่า สถานะหะดีษ  ดออีฟ  ที่ฮิช่าม บินอัมมารกับอัลวะลีดบินมุสลิม

ดูหนังสือซิลาลุลญันนะฮ์  โดยเชคอัลบานี  เล่ม 1 :29 หะดีษที่ 71    


71 - ( ضعيف )
 حدثنا هشام بن عمار ثنا الوليد بن مسلم أخبرني بكير بن معروف عن مقاتل بن حيان عن القاسم بن عبد الرحمن عن أبيه عن جده عبدالله بن مسعود أن رسول الله صلى الله عليه وسلم قال إن بني إسرائيل افترقت على اثنتين وسبعين فرقة لم ينج منها إلا ثلاث
 إسناده ضعيف رجاله ثقات على ضعف في هشام بن عمار والوليد بن مسلم يدلس تدليس التسوية ولم يصرح بالتحديث في غير شيخه بكير
 والحديث أخرجه الطبراني في الكبير حدثنا إسحاق بن إبراهيم بن أبي حسان الأنماطي نا هشام بن عمار به

ظلال الجنة   ج 1  ص 29

 
الكتاب : ظلال الجنة في تخريج السنة لابن أبي عاصم
المؤلف : محمد ناصر الدين الألباني
الناشر : المكتب الإسلامي - بيروت
الطبعة : الثالثة - 1413-1993
عدد الأجزاء : 2



สรุป

สะนัดหะดีษบทนี้มีนักรายงานที่ดออีฟรวมอยู่ด้วย  จึงมีสถานะหะดีษ  : ดออีฟ (อ่อน)
#19
L-umar อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึง

คำถามสำหรับซุนนี่



ท่านบอกว่า  ท่านหญิงอาอิชะฮ์  ไม่ได้ทำ


ถ้านางไม่ได้ทำ  แล้วนาง  ให้ชายอื่นเข้ามาบ้านนาง   ได้อย่างไร   ?   ตอบด้วย



อืมม ไม่รู้สิ วัลลอฮูอลัม ก็ \\\"ชายอื่น\\\" ที่คุณว่าน่ะ เป็นแค่เด็กชาย الْغُلاَمُ ที่ไม่ปรากฏว่าบรรลุศาสนภาวะแล้วนี่?
อย่าบิดเบือนหะดีษ เพื่อจะหาทางตำหนิมารดาของผู้ศรัทธาสิครับ ผู้ศรัทธาเขาไม่ทำกันนะ?


เวลาคุณได้ยินเรื่องราวที่ไม่ดีๆ ของใครๆ ก็ตาม อัลลอฮฺสั่งคุณว่าไงครับ? เชื่อเลยเหรอ?



Thai: [24:12]เมื่อพวกเจ้าได้ยินข่าวเท็จนี้ ทำไมบรรดามุอฺมินและบรรดามุอฺมินะฮ์จึงไม่คิดเปรียบเทียบกับตัวของพวกเขาเองในทางที่ดีและกล่าวว่า นี่เป็นเรื่องโกหกอย่างชัดแจ้ง

ได้ยินอะไรมาจากหนังสือชีอะห์ก็น่าจะเช็คซะก่อนนะ และคิดในแง่ดีกับผู้อื่นไว้ก่อนด้วย ผู้ศรัทธาเขาทำกันแบบนี้
#20
อ้าว คุณ L-umar ลบกระทู้ผมอีกแล้วเหรอ ไม่แน่จริงนี่หว่า อย่างนี้

ลบก็ลบไปเถอะ เพราะนั่นเป็นข้อยืนยันว่า อัลกุรอ่านโองการใดบ้างที่พวกคุณกลัว(ความจริงปรากฏ)

ขอความเข้าใจหน่อยก็ไม่ได้ ลบทิ้งแหลก ไร้สาระจริงเว็บนี้
#21
อื่น ๆ / Re:อย่าลืม l-umar2@hotmail.com
กรกฎาคม 06, 2009, 09:41:13 ก่อนเที่ยง
#22
L-umar อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึง

จากเวปคำถามสำหรับซุนนี่
   

ฝ่ายซุนนี่ตางหาก  ที่จะต้องนำหลักฐานมาแสดง  ให้ผู้อ่านทราบว่า    


นักวิชาการระดับมุจญ์ตะฮิด ที่เมืองกุม และ เมืองนะญัฟท่านใดบ้าง ที่ ให้การรับรองว่า  


บุรกออี   กับ ฮูเซน มูซาวี     คือ  มุจญ์ตะฮิด


กรุณาส่งหลักฐาน    มาพิสูจน์ตามที่ท่านนำมากล่าวอ้างด้วย   มิฉะนั้น จะถือว่า  โกหก



อ้าว ก็คุณบอกมาเอง ว่าคนที่นั่นไม่รู้จัก ก็ไหนล่ะหลักฐาน?

พูดแค่ว่าไม่รู้จักน่ะมันง่าย ท่านต้องโชว์หลักฐานจากชาวเมืองที่นั่นด้วยสิ
#23
อื่น ๆ / Re:อย่าลืม l-umar2@hotmail.com
กรกฎาคม 06, 2009, 08:55:16 ก่อนเที่ยง
#24
clazzic อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึงอัสสลามมูอะลัยกุม

ผมอ่านแล้วไม่ค่อยเข้าใจ

ช่วยสรุปได้ไหมคับ

เอาแบบเข้าใจ

วัสสลาม / ดาฟิส



ไม่ตั้งใจอ่านแต่ต้นมากกว่ามั้ง?
#25
clazzic อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึงอัสลลามูอะลัยกุม

อย่าไปว่าเว็บเขาเลยครับ ในเมื่อเว็บคุณเป็นเสียเอง

ท่านกล่าวแบบนี้ ท่านเอาหลักฐานมาสิคับ

ไม่ใช่ท่านมาบอกว่า มันไม่ใช่ มันไม่จิง ไม่ใช้ไม่ได้

นั่นมันแค่ลมปาก ผมจะกล่าวบ้างก้อได้ถ้าเป็นการกล่าวเพียงลมปาก

วัสสลาม / ดาฟิส


ลมปากอะไรครับ คุณเข้ามาไม่รู้เรื่องแล้วพูด ไม่รู้จักถามก่อน

จะหลักฐานอะไรละครับ ก็ในเมื่อกระทู้ที่ผมโพสต์ไว้ 5 ข้อ มันหายเกลี้ยง

ด้วยฝีมือของเว็บมาสเตอร์ ถ้าคิดว่าไม่จริง มามุบาฮาละกันก็ได้ เอาป่าว?
#26
L-umar อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึงมีชาวซุนนี่เปลี่ยนไปเป็นชีอะฮ์จริงหรือ ?

อยาตุลเลาะฮ์(ปลอม)ชื่ออัลบุรกออีและสัยยิด(ปลอม)ชื่อฮูเซนอัลมูซาวี ตัวการ์ตูนที่ซุนนี่สร้างขึ้น

คำถามสำหรับซุนนี่

1.   หากนายบุรกออี เป็นอยาตุลเลาะฮ์จริงในเมืองเตฮราน อย่างน้อยเขาน่าจะมีชื่อติดอันดับอยู่บ้างในแถวของระดับอุลละมาอ์ขั้นมุจญ์ตะฮิด  และต้องมีประชาชนรู้จักชื่อเสียงของเขาบ้าง  แต่ความจริงกลับไม่มีใครรู้จักเขาเลย  ทำไม

2.   หากนายฮูเซน อัลมูซาวี เป็นชื่อจริงโดยเฉพาะอ้างว่าเป็นสัยยิดด้วย  แน่นอนคนในเมืองกัรบาลาที่เขาถือกำเนิดจะต้องรู้จักตระกูลเขา  แต่ที่น่าแปลกคือไม่ค่อยมีใครทั้งซุนนี่และชีอะฮ์ที่นั่นรู้จักตัวตนของเขาเลย    และประเด็นที่สำคัญคือนายฮูเซนอ้างว่าได้รับการศึกษามาจากเมืองนะญัฟจนถึงขั้นมุจญ์ตะฮิด  มันยิ่งน่าแปลกใหญ่ เพราะบรรดามุจญ์ตะฮิดที่นะญัฟและประชาชนที่นั่นกลับไม่มีใครรู้จักตัวตนของเขาเลย ทำไม




อยากได้หลักฐานอ่ะ ว่าคนที่นั่นไม่รู้จักท่านทั้ง 2 จริงๆ

ขอขอบคุณล่วงหน้า
#27
อื่น ๆ / Re:อย่าลืม l-umar2@hotmail.com
กรกฎาคม 04, 2009, 02:35:26 หลังเที่ยง
#28
L-umar อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึง


3674 –
عَنْ عَائِشَةَ أَنَّ سَالِمًا مَوْلَى أَبِى حُذَيْفَةَ كَانَ مَعَ أَبِى حُذَيْفَةَ وَأَهْلِهِ فِى بَيْتِهِمْ فَأَتَتْ – تَعْنِى ابْنَةَ سُهَيْلٍ – النَّبِىَّ –صلى الله عليه وسلم- فَقَالَتْ إِنَّ سَالِمًا قَدْ بَلَغَ مَا يَبْلُغُ الرِّجَالُ وَعَقَلَ مَا عَقَلُوا وَإِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْنَا وَإِنِّى أَظُنُّ أَنَّ فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْ ذَلِكَ شَيْئًا. فَقَالَ لَهَا النَّبِىُّ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ تَحْرُمِى عَلَيْهِ وَيَذْهَبِ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ ». فَرَجَعَتْ فَقَالَتْ إِنِّى قَدْ أَرْضَعْتُهُ فَذَهَبَ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ.


3676 –
عَنْ زَيْنَبَ بِنْتِ أُمِّ سَلَمَةَ قَالَتْ قَالَتْ أُمُّ سَلَمَةَ لِعَائِشَةَ إِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْكِ الْغُلاَمُ الأَيْفَعُ الَّذِى مَا أُحِبُّ أَنْ يَدْخُلَ عَلَىَّ. قَالَ فَقَالَتْ عَائِشَةُ أَمَا لَكِ فِى رَسُولِ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- أُسْوَةٌ قَالَتْ إِنَّ امْرَأَةَ أَبِى حُذَيْفَةَ قَالَتْ يَا رَسُولَ اللَّهِ إِنَّ سَالِمًا يَدْخُلُ عَلَىَّ وَهُوَ رَجُلٌ وَفِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْهُ شَىْءٌ. فَقَالَ رَسُولُ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ حَتَّى يَدْخُلَ عَلَيْكِ ».

ซัยนับ บินติ อุมมุ สะละมะฮ์เล่าว่า   ท่านหญิงอุมมุสะละมะฮ์ กล่าวกับท่านหญิงอาอิชะฮ์ว่า  แท้จริงมีเด็กหนุ่มเข้ามาหาเธอ  ซึ่งฉันไม่ชอบที่เขาจะเข้ามาหาฉัน
ท่านหญิงอาอิชะฮ์กล่าวว่า  ทำไมท่านรู้แบบอย่างในตัวของท่านรอซูลุลเลาะฮ์เลยหรือ ?  นางกล่าวว่า  แท้จริงภรรยาของอบีฮุซัยฟะฮ์ นางกล่าวว่า  โอ้ท่านรอซูลุลเลาะฮ์   แท้จริงซาลิมจะเข้ามาหาฉัน ซึ่งเขาก็เป็นหนุ่มแล้ว และในตัวของอบีฮุฟัยะฮ์นั้นมีสิ่งหนึ่งจากเขา
ท่านรอซูลุลเลาะฮ์ได้กล่าวว่า  เธอจงให้เขาดื่มนม  เพื่อเขาจะได้เข้ามาหาเธอได้



คำถามสำหรับซุนนี่


หนึ่ง- เป็นที่ทราบดีว่า   ท่านหญิงอาอิชะฮ์นั้น ไม่เคยตั้งครรภ์  และไม่เคยคลอดบุตร  เพราะฉะนั้นขอถามว่า   นางจะเอาน้ำนมจากไหน  มารีดใส่ภาชนะเอาไปให้ชายนอกบ้านดื่มกิน    ?

สอง –
หากสิ่งที่นางอาอิชะฮ์ทำถูก   ทำไมบรรดาภรรยาที่เหลือทั้งหมดของท่านนบี(ศ)จึงปฏิเสธการให้นมแบบนี้    ทั้งๆที่พวกนางบางคนเคยมีบุตรมาแล้ว  

เพราะฉะนั้นทำไมมติของภรรยาโดยส่วนมาก  จะไม่มีน้ำหนักมากกว่า หนึ่งคนหรือ  



ในเบื้องต้น ได้ทำการตรวจสอบหะดีษที่คุณได้เสนอมาแล้ว คือ หะดีษที่ 3674, 3676
ปรากฏพบว่ามีอยู่ในศอเฮียะห์มุสลิมจริง ซึ่งสามารถหาอ่านภาษาไทยได้ในหนังสือชื่อ
\\\"หะดีษเศาะฮิหฺ มุสลิม\\\" เล่ม 2  หน้าที่ 81 ส่วนที่ 6 การให้นมแก่ลูกที่โตแล้ว (1394)
และในหน้าที่ 82 อยู่ในหมวดส่วนเดียวกัน (1395)

ซึ่งมีคำแปลดังต่อไปนี้ ปรากฏอยู่ในหนังสือ

1394 (3674) –
عَنْ عَائِشَةَ أَنَّ سَالِمًا مَوْلَى أَبِى حُذَيْفَةَ كَانَ مَعَ أَبِى حُذَيْفَةَ وَأَهْلِهِ فِى بَيْتِهِمْ فَأَتَتْ – تَعْنِى ابْنَةَ سُهَيْلٍ – النَّبِىَّ –صلى الله عليه وسلم- فَقَالَتْ إِنَّ سَالِمًا قَدْ بَلَغَ مَا يَبْلُغُ الرِّجَالُ وَعَقَلَ مَا عَقَلُوا وَإِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْنَا وَإِنِّى أَظُنُّ أَنَّ فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْ ذَلِكَ شَيْئًا. فَقَالَ لَهَا النَّبِىُّ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ تَحْرُمِى عَلَيْهِ وَيَذْهَبِ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ ». فَرَجَعَتْ فَقَالَتْ إِنِّى قَدْ أَرْضَعْتُهُ فَذَهَبَ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ.

(1394) จากอาอิชะฮฺเล่าว่า สาลิมผู้เป็นทาสของอบู หุซัยฟะฮฺยังคงพำนักอยู่กับครอบครัวอบู หุซัยฟะฮฺในบ้านของพวกเขาคือ หมายถึงบุตรสาวของสุฮัยลฺ (ทั้งๆ ที่สาลิมได้รับการปลดปล่อยให้เป็นอิสระแล้ว) ภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺ ได้มาหาท่านนบี (ซ.ล) เพื่อถามปัญหานี้ เธอกล่าวว่า สาลิมได้บรรลุศาสนภาวะและมีความคิดเป็นผู้ใหญ่เเล้ว แต่เขายังเข้าออกบ้านฉันเป็นปกติ ฉันเกรงว่า อบู หุซัยฟะฮฺจะคิดในทางเสียหาย ท่านนบี (ซ.ล.) กล่าวกับเธอว่า จงให้นมเขา (สาลิม) เพื่อให้เขาเป็นมะหฺริม อบู หุซัยฟะฮฺจะได้ไม่คิดในทางร้าย ต่อมาภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺจะได้มาหาท่านนบี (ซ.ล.) อีกและกล่าวว่า ฉันได้ให้นมแก่เขาและอบู หุซัยฟะฮฺก็เข้าใจเรื่องนี้(1)


1395 (3676) –
عَنْ زَيْنَبَ بِنْتِ أُمِّ سَلَمَةَ قَالَتْ قَالَتْ أُمُّ سَلَمَةَ لِعَائِشَةَ إِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْكِ الْغُلاَمُ الأَيْفَعُ الَّذِى مَا أُحِبُّ أَنْ يَدْخُلَ عَلَىَّ. قَالَ فَقَالَتْ عَائِشَةُ أَمَا لَكِ فِى رَسُولِ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- أُسْوَةٌ قَالَتْ إِنَّ امْرَأَةَ أَبِى حُذَيْفَةَ قَالَتْ يَا رَسُولَ اللَّهِ إِنَّ سَالِمًا يَدْخُلُ عَلَىَّ وَهُوَ رَجُلٌ وَفِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْهُ شَىْءٌ. فَقَالَ رَسُولُ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ حَتَّى يَدْخُلَ عَلَيْكِ ».

(1395) จากซัยนับ บินติ อุมมุสะละมะฮฺเล่าว่า อุมมุ สะละมะฮฺกล่าวกับอาอิชะฮฺว่า ทำไมเด็กผู้ชายที่บรรลุศาสนภาวะแล้วเข้าออกบ้านเธออย่างเสรีได้ละ เขาเล่าว่า อาอิชะฮฺ กล่าวว่า (ถ้าเป็นฉัน ฉันจะไม่สบายใจที่พวกเขาเข้าออกบ้านฉันเช่นนี้) อาอิชะฮฺ ตอบว่า ทำไมเธอจึงไม่ยึดแนวทางของท่านรสูล (ซ.ล) ละ อาอิชะฮฺกล่าวอีกว่า ความจริงภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺ (เคยร้องเรียนกับท่านรสูล (ซ.ล.) ว่า) โอ้-ท่านรสูล (ซ.ล) สาลิมเข้าออกบ้านของเธออย่างเสรี ทั้งๆ ที่สาลิมนั้นโตแล้ว จนเกรงกันว่าอบู หุซัยฟะฮฺจะคิดในทางเสียหาย ท่านรสูล (ซ.ล) จึงกล่าว (กับภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺ)ว่า  จงให้นมเขา(สาลิม) เพื่อให้เขาเป็นเครือญาติของเธอ


หมายเหตุที่ปรากฏ :
(1) การให้นมแก่เด็กที่โตแล้วโดยปกติมี 2 วิธี
  - 1.การรีดนมใส่ภาชนะแล้วให้ดื่ม
  - 2.การให้ดื่มนมอย่างทารก
จากหะดีษข้างต้นอาจสรุปได้ดังนี้
  1.การเป็นเครือญาติทางสายน้ำนมโดยให้เด็กที่โตแล้วดื่มนมใช้บทบัญญัติเดียวกันกับการให้ทารกดื่มนม
  2.นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นว่า รายละเอียดที่ปรากฏในหะดีษนี้กำหนดเฉพาะแก่สาลิมเท่านั้น มิใช่บทบัญญัติแก่คนทั่วไป
  3.ที่เห็นว่าการอนุญาตให้เด็กโตดื่มนมนั้นมีแต่อาอิชะฮฺเท่านั้น ส่วนภรรยาอื่นๆ ของท่านนบี (ซ.ล) ไม่เห็นด้วย (ดูซะเราะฮฺ นะวะวี เล่ม 3 หน้า 633)
--จบหมายเหตุ--



ดังนั้น สำหรับคำถามของคุณ
ข้อ 1.ดูเหมือนเป็นการบิดเบือนหะดีษนิดหน่อย ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ท่านหญิงอาอิชะฮฺไม่ได้เป็นผู้ให้นมเอง
แต่เป็นภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺต่างหาก

ข้อ 2.หะดีษที่ปรากฏเป็นเพียงการบอกเล่าให้ฟังถึงทัศนะเท่านั้น ยังไม่มีการชี้ถูกหรือชี้ผิด การที่คุณใช้คำว่า
\\\"หากสิ่งที่นางอาอิชะฮ์ทำถูก\\\" ก็ดูจะเป็นการรีบฟันธงเพื่อหาข้อตำหนิท่านหญิงอาอิชะฮฺเร็วไปหน่อย ในข้อประเด็น
ทางด้านฟิกฮฺ ที่มีข้อคิลาฟียะฮฺเป็นเรื่องธรรมดาอยู่แล้ว

ส่วนที่คุณบอกว่า \\\"เพราะฉะนั้นทำไมมติของภรรยาโดยส่วนมาก  จะไม่มีน้ำหนักมากกว่า หนึ่งคนหรือ\\\"
จะมีน้ำหนักหรือไม่ ก็ต้องไปเปรียบเทียบกับอัลกุรอ่าน และหะดีษของท่านนบี (ซ.ล) เป็นหลัก
อิสลามไม่ได้เป็นลัทธิประชาธิปไตย ที่จะให้เสียงส่วนมากเป็นฝ่ายถูก ส่วนในเรื่องการให้นมบุตรนี้
ใครจะเป็นฝ่ายถูก ก็วัลลอฮูอลัม และเป็นสิ่งเฉพาะของสาลิม (โปรดดูหมายเหตุ) การรีบสรรหาหะดีษ
มาเพื่อตำหนิมารดาของผู้ศรัทธานั้น เป็นสิ่งที่ผู้ศรัทธาไม่ทำกัน





Thai: [33:6]นบีนั้นเป็นผู้ใกล้ชิดกับบรรดาผู้ศรัทธายิ่งกว่าตัวของพวกเขาเอง และบรรดาภริยาของเขา (นบี) คือมารดาของพวกเขาและเครือญาติร่วมสายโลหิต บางคนในหมู่พวกเขาใกล้ชิดกับอีกบางคนยิ่กว่าบรรดาผู้ศรัทธาและบรรดาผู้อพยพในบัญญติของอัลลอฮ์ เว้น แต่พวกเจ้าจะกระทำความดีแก่สหายสนิทของ พวกเจ้า นั่นได้มีบันทึกไว้แล้วในคัมภีร์
#29
อย่าไปว่าเว็บเขาเลยครับ ในเมื่อเว็บคุณเป็นเสียเอง